Page 185 - AgingSociety
P. 185
2. การออมเงินรองรับชีวิตสูงวัย
คุณประวิทย์ คงขวัญรัตน์ โปรดิวเซอร์รายการ ฝ่าย
ื
ื
รายการคุณภาพชีวิตมองว่า ปัจจุบันส่อในประเทศยังขาดเน้อหา
ื
�
ี
เร่องผู้สูงวัยอีกหลายแง่มุมท่สาคัญและมีผลต่อคุณภาพชีวิตของผู้สูง
วัย ตัวอย่างท่เห็นชัดคือเร่องของ “การออม” ต้งแต่วัยทางานเพ่อ
ั
ื
�
ี
ื
เตรียมความพร้อมในการใช้ชีวิตในวัยเกษียณอย่างมีคุณภาพ
ึ
่
ี
ั
�
่
ั
ู
ู
“ปัญหาส่วนหนงของสงคมผ้สงวัยคือ การทคนวยทางานไม่
ได้เตรียมพร้อมตัวเองไว้ก่อนต้งแต่ยังไม่แก่ ท้งเร่องของเศรษฐกิจ เร่อง
ั
ื
ั
ื
ื
ของสุขภาพ เร่องของสังคม เร่องของสภาพจิตใจตัวเองด้วย คนวัย
ื
ื
ิ
�
ท�างานต้องเร่มคิดแล้วว่า แผนการดาเนินชีวิตเม่อเกษียณจะเป็น
�
อย่างไร ในมุมมองคนทารายการสุขภาพ คนวัยทางานในอายุ 45 ควร
�
ิ
เร่มคิดได้แล้ว สภาพแต่ละครอบครัวมันไม่เหมือนกัน ย่งถ้าไม่มีลูก
ิ
�
ต้องใช้ชีวิตคนเดียว การเตรียมความพร้อมสาคัญมาก ส่อน่าจะต้อง
ื
น�าเสนอเรื่องราวเหล่านี้ให้มากขึ้น”
ื
�
ประเด็นน้อรพิน ลิลิตวิศิษฎ์วงศ์ แห่งสานักเครือข่ายส่อ
ี
สาธารณะ เสริมว่า สังคมสูงวัยในไทยมีความตึงเครียดและน่ากลัวกว่า
ื
ี
ั
ี
ั
ท่คิด ในเร่องของเงินออม ชนช้นกลางท่วไปหรือแม้แต่คนท่เป็น
ข้าราชการจะเกษียณมาแล้วมีเงินเก็บห้าล้านหรือสิบล้านเพ่อให้
ื
สามารถใช้ชีวิตหลังเกษียณอย่างสบายเป็นเรื่องที่เกิดขึ้นได้ยากจนถึง
ิ
ั
ไม่เป็นความจริง ย่งกว่าน้นคนรุ่นใหม่เองบางส่วนก็ไม่ได้พยายามสร้าง
ั
ึ
ความม่นคงในชีวิตเหมือนคนรุ่นก่อน ซ่งหากคนกลุ่มน้ล้มสุดท้าย
ี
ื
ปัญหาก็จะสะท้อนกลับไปหาผู้สูงวัยหรือพ่อแม่อีก รวมถึงประเด็นอ่นๆ
อย่างเรื่องการจัดการมรดกในเชิงกฎหมาย ฯลฯ
174 เ องเ ่าค ท างา ส อสา า ไทยพีบีเอส