Page 188 - AgingSociety
P. 188
ี
ี
ื
ปัญหาสภาพจิตใจของผู้สูงอายุท่มักจะมีความเหงา การสร้างพ้นท่หรือ
ชุมชนที่ดีน่าจะช่วยได้มาก
ื
ื
อีกประเด็นหนึ่งคือการส่อเร่องผู้สูงวัยกับคนในครอบครัว จาก
ู
ี
ิ
ี
่
ั
ี
ั
้
ิ
่
�
ั
ื
รปแบบการใชชวตในสงคมสมยใหม วิถชวตทเรงรบ คนในวยทางานหรอ
ี
่
ี
ี
วัยเรียนต่างใช้เวลาไปกับภาระหน้าท่หลักของแต่ละคน จนคล้ายกับว่า
ผู้สูงอายุท่อยู่ในบ้านถูกหลงลืมหรือละเลยไป บทบาทของส่อ โดยเฉพาะ
ื
ี
ี
ื
ื
ส่อสาธารณะ น่าจะอยู่ท่การผลักดันให้มีเน้อหาท่เข้ามารองรับ
ี
�
ปรากฏการณ์ดังกล่าว ท่สาคัญคือสร้างความเข้าใจระหว่างคนต่างวัย
ี
ท�าให้ลูกหลานเข้าใจในข้อจากัดในความเป็นผู้สูงวัยให้มากข้น
ึ
�
ื
ี
“คิดว่าส่อน่าจะช่วยกันผลักดันให้มีเน้อหาเก่ยวกับผู้สูงอาย ุ
ื
เนื้อหาที่จะเข้าไปช่วยเหลือหรือแก้ปัญหาให้กับผู้สูงอายุมากขึ้น มอง
ไปที่วิถีชีวิตของผู้สูงอายุในปัจจุบัน ความเหงาจากการที่ไม่มีกิจกรรม
ที่เหมาะสมให้ท�า รวมไปถึงการเรียนรู้ภาวะวัยทอง เช่น พฤติกรรมที่
เปลี่ยนไป ขี้บ่น พูดซ�้าๆ พูดเสียงดัง หูตึง ซึ่งจริงๆ แล้วมันเป็นภาวะ
ที่เกิดขึ้นตามวัย แต่คนในบ้านอาจจะไม่เข้าใจท่านเท่าไหร่”
“ผู้สูงวัยเองก็ไม่ได้ต้องการเรียกร้องมาก พวกเขาทราบดีว่า
ั
ื
ู
ุ
ุ
�
่
ุ
ั
ลกหลานเหนอยจากการทางานทกวน คนในครอบครวย่ง ทกคนม ี
ื
�
ภารกิจในการทางานหรือเหน่อยจากการเรียน พอเขาไม่พูดหรือไม่
เรียกร้อง คนในครอบครัวที่เหลือไม่ได้สละเวลามาคิดถึงความรู้สึกผู้
ั
ี
ื
สูงวัย บางคร้งต้องอาศัยการสังเกต การพูดคุย ส่อก็น่าจะมีเน้อหาท่มา
ื
ให้ความรู้ กระตุ้น กระทุ้ง ให้ลูกหลานคนในครอบครัวได้เข้าใจตรงนี้
มากขึ้น”
สังคมสูงวัยกับความใส่ใจของไทยพีบีเอส 177