Page 59 - คู่มือผลิตเสียงบรรยายภาพ
P. 59
สถาบันวิชาการสื่อสาธารณะ (สวส.)
บทสรุปส่งท้�ย
หัวใจสาคัญอย่างหน่งของผ้ท่ทาหน้าท่ผลิตเสียงบรรยายภาพ
ำ
ี
ี
ึ
ำ
ู
คือ ความเข้าใจในเรื่องของคนพิการทางการเห็น ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของ
ประเภทของคนพิการทางการเห็น ที่มีทั้งคนที่พิการแต่กำาเนิด และคนที่
มาพิการภายหลัง อีกท้ง ระดับของการมองเห็นก็แตกต่างกันออกไป
ั
ื
ึ
ู
ซ่งส่งผลในเร่องของการรับร้ และการจินตนาการของคนพิการทางการเห็น
แต่ละบุคคลด้วย
รวมไปถึงเร่องสิทธิและความต้องการของคนพิการทางการเห็น
ื
ทั้งนี้ก็เพื่อสร้างความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับกลุ่มเป้าหมาย อันจะส่งผล
ให้ในการผลิตเสียงบรรยายภาพเป็นไปด้วยความเข้าใจ อีกท้งยังเป็น
ั
การสร้างแรงจูงใจในการผลิตสื่อเพื่อประโยชน์ต่อสังคมอีกด้วย
แม้ว่าคนพิการทางการเห็นจะมีอย่หลายประเภท ความต้องการ
ู
ทราบข้อมูลของคนสายตาเลือนรางอาจจะไม่ต้องการข้อมูลมาก
ู
เพราะพอมองเห็นอยบ้าง หรอบางสวนอาจจะต้องการขอมูลมาก
ื
้
่
่
ี
เพราะมีประสบการณ์มองเห็นมาก่อนในรายท่มาพิการภายหลัง
ื
แต่เพ่อความเท่าเทียมในการส่อสาร การผลิตเสียงบรรยายภาพจะยึดหลัก
ื
การบรรยายสำาหรับคนพิการทางการเห็นแต่กำาเนิดไปเลย
Joel Snyder ผู้เชี่ยวชาญด้านเสียงบรรยายภาพชาวอเมริกัน
ิ
กล่าวว่า “ตาอาจจะมองเห็นไม่ชัด แต่สมองของพวกเขาปกติ” ส่งท ่ ี
ำ
ำ
สาคัญท่สุดท่ผ้ผลิตเสียงบรรยายภาพจะต้องจดจาไว้เลยก็คือ “เราเป็น
ี
ู
ี
59