Page 56 - คู่มือผลิตเสียงบรรยายภาพ
P. 56
สื่อ
คู่มือผลิต เสียงบรรยายภาพ เบื้องต้น
ึ
ี
ซ่งแน่นอนว่าผลงานท่ได้จะเต็มไปด้วยคุณภาพ และตอบโจทย ์
ู
ผ้ใช้บริการได้อย่างแน่นอน และแม้ว่าการให้คนพิการ
ทางการเห็นเข้ามามีส่วนร่วมในการผลิตเสียงบรรยาย
ิ
ภาพจะสามารถช่วยเพ่มประสิทธิภาพในการผลิตเสียง
ั
ึ
ิ
บรรยายภาพให้มีคุณภาพมากย่งข้น และช่วยลดข้นตอน
การประเมินคุณภาพลงได้บ้าง แต่การประเมินคุณภาพจาก
ี
ู
ั
คนพิการทางการเห็นรวมไปถึงผ้ใช้บริการท่วไป ท่แตกต่าง
็
ั
็
ำ
่
ี
็
ั
้
่
่
ิ
หลากหลาย กยงคงเปนขนตอนทจาเปนและสาคญอยางยง
ั
ำ
ในการพัฒนางานเสียงบรรยายภาพ เพราะการประเมินคุณภาพ
จากผ้คนท่หลากหลาย จะนามาซ่งข้อมูลความคิดเห็นและ
ำ
ี
ึ
ู
ข้อเสนอแนะที่แตกต่างหลากหลายเช่นกัน อันจะนำาไปสู่การ
พัฒนางานเสียงบรรยายภาพที่มีประสิทธิภาพ และส่งผลให้
ิ
ึ
งานเสียงบรรยายภาพมีมาตรฐาน และมีคุณภาพมากย่งข้นไป
ั
ั
ท้งหมดน้ก็คือรายละเอียดของข้นตอน กระบวนการ
ี
ในการผลิต และการสร้างสรรค์ส่อเพ่ออานวยความสะดวก
ำ
ื
ื
ในการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารให้แก่ทุกคนในสังคมท่เรียกว่า
ี
“เสียงบรรยายภาพ (Audio Description – AD)” ใน
รายการโทรทัศน์ ต้งแต่เร่มต้นจนจบสมบูรณ์ และต่อยอด
ั
ิ
ไปจนถึงการพัฒนางานเสียงบรรยายภาพให้มีคุณภาพ
ได้มาตรฐานในระดับที่ดียิ่งๆ ขึ้นไปในอนาคต ทั้งนี้ เพื่อสร้าง
ื
ความเท่าเทียมให้กับทุกคนในสังคมให้ได้รับสิทธิในการเข้าถึงส่อ
อย่างเสมอภาค
56