Page 53 - คู่มือผลิตเสียงบรรยายภาพ
P. 53
สถาบันวิชาการสื่อสาธารณะ (สวส.)
ำ
ู
และทาให้ผ้ฟังสามารถแยกเสียงได้ง่ายระหว่างเสียงบรรยายภาพกับ
เสียงในรายการนั่นเอง
5) ก�รตัดต่อ
โดยหลักการของการผลิตเสียงบรรยายภาพแล้ว การลงเสียง
บรรยายภาพต้องไม่ไปทับกับเสียงต้นฉบับ เพราะเสียงทุกเสียงในส่อ
ื
ุ
ั
ื
น้นมีความหมาย ความเงียบก็มีความหมายเช่นกัน เงียบเพ่อให้ได้ล้น
ื
บ้าง เงียบเพ่อให้ได้ท้งอารมณ์บ้าง แต่การสร้างความเข้าใจเองก็เป็น
ิ
ิ
ำ
ำ
ส่งสาคัญในงานเสียงบรรยายภาพ หากจาเป็นจริงๆ ท่จะต้องทับกับเสียง
ี
รายการต้นฉบับ ก็จะต้องผสมเสียงให้มีระดับความดังที่เหมาะสม
ี
ในกรณีของเสียงบรรยายภาพท่ไม่ทับเสียงต้นฉบับ สามารถใช ้
วิธีลงเสียงในห้องพากย์และตัดต่อผสมเสียงได้ทันทีในห้องพากย์ ซึ่งทำาให้
ี
ำ
ประหยัดเวลาในการทางานได้มาก แต่ในกรณีท่จาเป็นต้องทับเสียงต้นฉบับ
ำ
จริงๆ ต้องมีการตัดต่อผสมเสียงให้อยู่ในระดับที่เหมาะสม
่
่
่
กลาวคือ ไมดังกว่าต้นฉบับ และไมเบาจนไม่สามารถส่อความได้
ื
ำ
ื
ี
เม่อตัดต่อผสมเสียงเรียบร้อยแล้วก็นาส่งไฟล์เสียงบรรยายภาพท่เสร็จ
่
ื
้
เรยบรอยแลวใหทางสถานีเป็นไฟล MP3 เพอทางสถานจะไดนาไฟล ์
ี
้
้
์
ำ
ี
้
ไปลงในระบบช่องเสียงที่ 5 และ 6 สำาหรับออกอากาศในระบบดิจิทัล
ื
เพ่อให้ผ้ชมผ้ฟังรายการได้เข้าถึงบริการเสียงบรรยายภาพทางโทรทัศน์ต่อไป
ู
ู
53