Page 51 - คู่มือผลิตเสียงบรรยายภาพ
P. 51
สถาบันวิชาการสื่อสาธารณะ (สวส.)
(2) ก�รตรวจและพิจ�รณ�บทเสียงบรรย�ยภ�พในขั้นตอน
ก�รลงเสียง : ในขั้นตอนของการลงเสียง จะทำาให้ผู้ผลิตเสียงบรรยาย
ำ
ภาพได้พบกับข้อจากัดและอุปสรรคในการลงเสียงบรรยายภาพหน้า
ี
งาน เช่น อ่านไม่ทันเพราะบทยาวเกินไป หรือบทท่เขียนมาไม่ชัดเจน
ทำาให้ผู้ทำาหน้าที่ลงเสียงอ่านไม่ถูกต้อง ผู้ที่ทำาหน้าที่เขียนบท จึงมีหน้าที่
ำ
ิ
ี
ื
สาคัญอย่างย่งท่จะต้องควบคุมการลงเสียง เพ่อให้รายละเอียดบท
ู
กับผ้ลงเสียง รวมไปถึงพิจารณาปรับปรุงแก้ไขบทหน้างานร่วมกับ
ื
ผ้ลงเสียงด้วย เพ่อให้การผลิตเสียงบรรยายภาพ เป็นไปด้วยความเรียบร้อย
ู
มีประสิทธิภาพ และประสบความสำาเร็จ
4) ก�รลงเสียง
ทักษะการใช้เสียง (Vocal Skill) เป็นอีกส่วนสาคัญในการ
ำ
ผลิตเสียงบรรยายภาพ เพราะเสียงบรรยายภาพจะมีคุณภาพและ
เกิดประโยชน์หรือไม่นั้น ขึ้นอยู่กับเสียงที่ใช้ในการบรรยาย ซึ่งแตกต่าง
จากการพากย์ หรือการลงเสียงท่วไป เพราะการลงเสียงบรรยายภาพ
ั
ื
จะใช้วิธีการเล่าเร่องเหมือนเล่าเร่องให้เพ่อนฟัง และไม่กลายเป็น
ื
ื
หนึ่งในตัวละคร ผู้ลงเสียงต้องระลึกไว้เสมอว่า “หน้าที่ของผู้ลงเสียง คือ
การเป็นส่วนเสริมในการสร้างความเข้าใจ ไม่ใช่ตัวละคร”
แต่หากเป็นหลักการในการลงเสียงก็ยังไม่มีกฎเกณฑ์ตายตัว
บางประเทศหรือบางแห่งก็จะเน้นให้อ่านตรงๆ ทื่อๆ ไม่ต้องใส่ลีลาใน
ำ
น้าเสียงเลย เพราะถือว่าเสียงบรรยายภาพเป็นส่วนเสริมเท่านั้น แต่บาง
ประเทศอาจจะให้เสริมลีลาในน้าเสียงได้บ้างเล็กน้อย
ำ
51