Page 68 - คู่มือผลิตเสียงบรรยายภาพ
P. 68
สื่อ
คู่มือผลิต เสียงบรรยายภาพ เบื้องต้น
ื
ำ
แต่เม่อมีเสียงบรรยายภาพ ทาให ้
ำ
ี
ทราบว่าภาพท่ปรากฏคืออะไร ทาให ้
ึ
ื
เข้าใจเน้อเร่องมากข้น อีกท้งยังทาให ้
ำ
ื
ั
ื
ทราบว่ามีตัวละครหลายตัวในเร่องน้ ี
และในแต่ละฉากเหตุการณ์เป็นอย่างไร
ึ
บ้าง เป็นต้น ซ่งการมีเสียงบรรยายภาพน ี ้
สามารถทาให้ผ้ชมท่พิการทางการเห็นได้รับอรรถรสเพ่มข้น ช่วยให้อยาก
ำ
ู
ี
ิ
ึ
ั
ู
ึ
ู
ติดตามชมรายการมากข้น มิฉะน้นจะรับร้ได้เพียงแค่คร่าวๆ เป็นความร้สึก
ื
เท่าน้น เช่นว่า มีการแข่งขันอะไรสักอย่างกัน มีผ้เข้าเส้นชัย และเร่อง
ู
ั
น่าจะเกิดขึ้นในป่า เป็นต้น
พฤติกรรมก�รรับชม
เด็กๆ ส่วนมาก มักจะชมโทรทัศน์ในช่วงเย็นหลังเลิกเรียน เว้นแต่ช่วง
ึ
ู
ั
ำ
ปิดเทอม ซ่งน้องๆ จะใช้เวลาท่อย่บ้านในการดูทีวีเกือบท้งวัน ทาให้จาผังเวลา
ี
ำ
ของรายการที่ชอบได้อย่างแม่นยำา ขณะที่รับชม ก็จะมีเสียงเฮ ตามจังหวะ
เสียงเพลง หรือไม่ก็ตะโกนเอะอะ ในช่วงที่รู้สึกลุ้นตามสถานการณ์ในเรื่อง
มีเสียงหัวเราะชอบใจ ตบมือบ้างเป็นระยะๆ
หากน้องๆ มข้อข้องใจ หรอมีขอคิดเห็นอะไร ก็จะพดออกมา
ู
้
ื
ี
เลยในขณะที่กำาลังรับชม เช่น รอบแรกที่ชม DUDA & DADA โดยไม่มี
ื
ื
ี
เสียงบรรยายภาพตอนต้นเร่อง น้องๆ ก็จะถามออกมาว่าน่เร่องอะไร
บางช่วงท่ฟังไม่ทันก็จะปล่อยผ่าน แล้วฟังต่อ เพราะจับได้เป็นบางคา
ำ
ี
หากชื่อเรื่องยาวเกินไปก็จะจำาได้ไม่ครบ
68