Page 30 - SolutionsCivicJournalism
P. 30
ั
ื
ี
และรับการรักษายังจุดนัดหมายทุกคร้ง แต่เน่องจากคนกลุ่มน้อยู่อาศัย
�
กันกระจัดกระจาย ทีมคุณหมอจึงออกตระเวณสารวจจุดท่มีคนไร้บ้าน
ี
่
ู
ั
ิ
ั
ั
ื
ื
่
อย่และสามารถนดหมายรวมตวกนได้ เพอจัดบรการเคลอนทให้เป็น
ี
่
ประจ�าอย่างต่อเนื่อง
ี
ิ
คนส่วนใหญ่กลายมาเป็นคนไร้บ้านจากจุดเร่มต้นท่การ
ึ
ื
ี
ตกงาน ทาให้ขาดรายได้และเกิดความเครียด เม่อต้องพ่งพาท่อยู่อาศัย
�
ี
กับญาติพ่น้องก็มักจะเกิดปัญหาทะเลาะเบาะแว้ง จนในท่สุดตัดสินใจ
ี
ออกจากบ้าน และใช้ชีวิตเร่ร่อนไร้จุดหมาย
การจัดหน่วยแพทย์เคล่อนที่ให้กับคนกลุ่มน้ ไม่ได้มีแต่ใน
ื
ี
เมืองอัลเลนทาวน์เพียงแห่งเดียว แต่คุณหมอและพยาบาลใน 85
ประเทศทั่วโลก ค้นพบวิธีการดูแลสุขภาพที่เหมาะสมให้กับคนกลุ่มนี้
ุ
ุ
ไม่ว่าจะเป็นในกรงปราก สาธารณรฐเช็ก, กรงลอนดอน สหราช
ั
อาณาจักร หรือแม้แต่กรุงนิวเดลี ประเทศอินเดีย
คุณหมอจากทีมแพทย์เคลื่อนที่เมืองอัลเลนทาวน์บอกว่า สิ่ง
ส�าคัญยิ่งกว่าการรักษาอาการเจ็บป่วยให้คนไร้บ้าน คือการใส่ใจดูแล
กลุ่มคนที่คิดว่าตัวเองไม่เป็นที่ต้องการของสังคมอีกต่อไปแล้ว
“ส่งท่เรานาไปให้คือความหวังในชีวิต ท่มีความหมายสาหรับ
�
ี
ี
�
ิ
พวกเขายิ่งกว่าหยูกยาชนิดใดๆ”
ที่มา: เว็บไซต์ washingtonpost.com
สื่อสาธารณะกับแนวทาง Solutions Civic Journalism 19