Page 33 - SolutionsCivicJournalism
P. 33
ประสบการณ์ดังกล่าวกระตุ้นให้เกิดการปรับบทบาทของ
สื่อมวลชน โดยก้าวข้ามการเป็นนักสื่อสารมวลชนแบบเดิมไปสู่การมี
ิ
บทบาทเพ่มในการเป็นนักกิจกรรมทางสังคมด้วย รอย ปีเตอร์ คลาร์ก
นักวิชาการอาวุโส สถาบันพอยน์เตอร์ (Poynter Institute) สถาบัน
ื
�
ั
ื
พัฒนาส่อมวลชนช้นนา เห็นว่า ส่อสาธารณะเสนอให้นักส่อสารมวลชน
ื
ี
ก้าวข้ามเส้นแบ่งของการเป็นนักส่อสารมวลชนท่ถือความเป็นอิสระ
ื
�
ื
เป็นสาคัญ คือเป็นเพียงผู้สังเกตการณ์ และผู้รายงานเร่องราว ไปสู่การ
เป็นผู้สร้างการรวมตัวของผู้คน และผู้สร้างการเคลื่อนไหว ส่วน ด็อก
ื
คลิฟตัน บรรณาธิการบริหารของไมอามี เฮอรัล เสริมว่า ส่อสาธารณะ
ควรเป็นผู้ร่วมแก้ปัญหา ให้ความช่วยเหลือในเร่องสาธารณะ เช่น การ
ื
ศึกษาขั้นพื้นฐาน, การให้การดูแลสุขภาพ, การสร้างความยุติธรรมใน
การดาเนินคดี เป็นต้น โดยการเอ้ออานวยให้เกิดการแลกเปล่ยนถึง
ื
ี
�
�
ื
ความเห็นอย่างเปิดกว้าง และตรงประเด็น การช่นชมความสาเร็จของ
�
การแก้ไขปัญหา การวินิจฉัยความล้มเหลว และกระตุ้นให้ประชาชน
ั
พลเมืองเข้ามีส่วนร่วมในประเด็นสาธารณะ รวมท้งการออกแบบและ
ประเมินผลแนวทางการปฏิบัติในการแก้ปัญหา
ทั้งประสบการณ์และความเห็นเหล่านั้น สามารถสรุปเป็นวิธี
�
คิดและวิธีการทางานของส่อสร้างพลเมืองตามความเห็นของ เจย์ โร
ื
เซน นักวิชาการด้านส่อสารมวลชนจากมหาวิทยาลัยนิวยอร์กและนัก
ื
บุกเบิกสื่อสร้างพลเมืองยุค 1990 ได้ดังนี้
22 เรื่องเล่าคนท�างานสื่อสาธารณะ “ไทยพีบีเอส”