Page 39 - SolutionsCivicJournalism
P. 39
้
ี
เหนต่าง ข้อโต้แย้ง หรือข้อท้าทาย แต่ควรชแจงตอบโต้ด้วย
็
ข้อมูลและเหตุผลที่ชัดเจนตรงประเด็น
ิ
ั
ี
สอเชงเสนอแนะมประวตความเปนมายาวนาน โดยเรมตนใน
ิ
็
่
่
ิ
ื
้
ี
ั
ี
ึ
ื
สังคมอเมริกันต้งแต่ช่วงต้นศตวรรษท่ 19 ซ่งเป็นยุคท่ส่อมวลชนใน
�
สหรัฐฯ มีการเลือกข้างแบ่งฝักฝ่ายทางการเมือง ทาให้การนาเสนอ
�
ี
่
ื
ิ
ื
ี
ข่าวสารมความโน้มเอยงไปตามความคดความเชอทางการเมองของ
นักข่าวและกองบรรณาธิการ สังคมเริ่มวิพากษ์วิจารณ์สื่อมวลชน จน
น�ามาสู่แนวคิดในการเสนอข่าวแบบสื่อเชิงเสนอแนะ ที่ให้สื่อมวลชน
ประกาศจุดยืนของตนเองอย่างชัดเจนไปเลย ผู้บริโภคจะได้ไม่สับสน
ื
หรือเกิดความเข้าใจท่คลาดเคล่อนไขว้เขว อย่างไรก็ตาม หลายฝ่าย
ี
ี
ื
ไม่เห็นด้วย และยังคงยึดม่นในแนวคิดท่ว่า ส่อสารมวลชนต้องรักษา
ั
็
“ความเป็นกลาง” แม้ความเปนกลางจะเปน “อุดมคติ” ซึ่งท�าได้ยาก
็
ในการท่คนเราจะปลอดจากความคิดความเช่อใดๆ เป็นของตนเอง แต่
ื
ี
ฝ่ายท่สนับสนุนในหลักการส่อสารมวลชนแบบด้งเดิมก็เช่อว่า น่นเป็น
ื
ั
ื
ั
ี
ื
�
ี
�
คุณค่าสาคัญท่ส่อสารมวลชนต้องพยายามธารงรักษาไว้ และหาก
ื
ส่อมวลชนไม่เป็นกลางเสียแล้ว แต่กลับมีการประกาศจุดยืนความเชื่อ
ื
ของตัวเองออกมาเม่อใด เม่อน้นก็คงไม่อาจเรียกตนเองว่าเป็น
ั
ื
สื่อมวลชนมืออาชีพอีกต่อไป
28 เรื่องเล่าคนท�างานสื่อสาธารณะ “ไทยพีบีเอส”