Page 40 - SolutionsCivicJournalism
P. 40

�
                                                                ื
                         ข้อถกเถียงในประเด็นดังกล่าวดาเนินอย่างต่อเน่องมาจนถึง
                                      ื
                                                       ี
                                                    ี
                  ยุคแห่งการเติบโตของส่อดิจิทัล บริบทท่เปล่ยนแปลงไปในโลกการ
                               ี
                   ื
                                                                       ื
                  ส่อสาร คือการท่ทุกคนสามารถใช้เคร่องมือส่อสารในการบอกเล่าเร่อง
                                                ื
                                                      ื
                                                                     ิ
                         ุ
                  ราวเหตการณ์และความคดเหนมมมองของตนเองได้ คนในวชาชพ
                                        ิ
                                           ็
                                              ุ
                                                                        ี
                   ื
                                               ี
                  ส่อสารมวลชนไม่ใช่คนกลุ่มเดียวท่ผูกขาดการน�าเสนอข่าวสารต่อ
                  สาธารณะอีกต่อไป แต่โลกได้ก้าวมาถึงยุคที่ “ใครๆ ก็เป็นนักข่าวได้”
                  กลุ่มองค์กรท่ต้องการส่อสารข้อมูลข่าวสารและมุมมองของตนเอง รวม
                                    ื
                             ี
                                                ี
                  ท้งกลุ่มท่มุ่งผลักดันให้เกิดความเปล่ยนแปลงในสังคม เช่น องค์กร
                   ั
                          ี
                  พัฒนาเอกชนที่เรียกร้องสิทธิความเป็นธรรมในด้านต่างๆ มีการใช้สื่อ
                  เผยแพร่ข้อมูลข่าวสารเพื่อสร้างความเข้าใจ สื่อสารแง่มุมใหม่ๆ และ
                  ขยายแนวร่วมในสังคม ไปจนถึงการผลักดันนโยบายภาครัฐ ทาให้เกิด
                                                                   �
                                            ี
                                                               ื
                                ื
                  การเรียกการใช้ส่อในลักษณะน้แตกต่างกันไป เช่น ส่อเชิงวิพากษ์
                  (Critical journalism), สื่อที่มีแนวคิดสุดขั้ว (Radical journalism),
                  สื่อของนักกิจกรรม (Activist journalism) ซึ่งล้วนมีความหมายใกล้
                  เคียงกันกับส่อเชิงเสนอแนะ (Advocacy journalism) โดยมีนัยยะ
                             ื
                          ื
                  ของการส่อสารในส่งท่แตกต่างจากท่ส่อสารมวลชนกระแสหลักนา
                                                                         �
                                                 ี
                                     ี
                                  ิ
                                                  ื
                  เสนออยู่ ซึ่งมักจะอยู่ในกรอบความคิดความเชื่อและค่านิยมหลักของ
                  สังคม
                         ศาสตราจารย์โรเบิร์ต เจนเซน นักวิชาการด้านส่อสารมวลชน
                                                               ื
                  จาก University of Texas at Austin มีมุมมองต่อเร่องน้ว่า ในยุค
                                                              ื
                                                                  ี
                  สื่อสาธารณะกับแนวทาง Solutions   Civic Journalism     29
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45