Page 41 - SolutionsCivicJournalism
P. 41
ื
ื
ื
ดิจิทัล ทุกคนสามารถใช้ส่อเป็นเคร่องมือเพ่อเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร
หยิบยกประเด็น และน�าเสนอมุมมองของตนเองให้สาธารณชนได้รับ
ั
ื
่
ี
ี
้
ั
ู
ุ
ร้ ไม่มใครปิดกนได้อกต่อไป และเขาค่อนข้างสนบสนนการใช้สอใน
ื
ื
ลักษณะดังกล่าว เพราะเขาเช่อว่า ข้อมูลและเร่องราวต่างๆ ต้องถูก
บอกเล่าจากแง่มุมท่หลากหลาย ไม่มีความจาเป็นท่สังคมจะต้องรอฟัง
�
ี
ี
จากสื่อมวลชนเพียงฝ่ายเดียวอีกต่อไป
ึ
ื
การเกิดข้นของ “ส่อสารเชิงเสนอแนะ” ส่งผลให้เส้นแบ่ง
ื
ี
ื
ระหว่างการเป็นส่อมวลชนมืออาชีพกับกลุ่มองค์กรท่ใช้การส่อสารเป็น
ื
ช่องทางเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารด้วยตนเองเกิดความพร่าเลือน เม่อกลม
ุ่
้
้
องคกรซึ่งอีกดานหนึ่งก็มีบทบาทในการเปนแหลงขอมูล หรือ “แหลง ่
่
็
์
ข่าว” ของส่อสารมวลชน มีการจัดทาและเผยแพร่เน้อหาสาระข่าวสาร
ื
�
ื
ั
ด้วยตนเองผ่านช่องทางส่อหลากหลายชนิด บ่อยคร้งสานักข่าวม ี
ื
�
�
ี
ั
�
ื
การนาข้อมูลเหล่าน้นมาใช้ในการนาเสนอในส่อของตน จุดน้ถูกมอง
ื
ว่าต้องมีความระมัดระวัง สานักข่าวซ่งเป็นส่อมวลชนมืออาชีพจะต้อง
�
ึ
ื
ี
�
มีการส่อสารให้ผู้บริโภครับรู้อย่างชัดเจนว่า ข้อมูลท่ถูกนาเสนอน้นได้
ั
มาจากแหล่งข้อมูลใด และแหล่งข้อมูลนั้นมีจุดยืนภารกิจอย่างไร
ื
่
่
ุ
ท่ามกลางสถานการณ์ทสอมวลชนมออาชพในทวทกมม
ั
ี
ื
ุ
ี
่
โลกพยายามปรับตัวเพ่อจะรักษาสถานะของตนเองให้อยู่รอดต่อ
ื
ื
ื
ไปได้ ขณะท่ผู้บริโภคส่อแตกกระจายออกไปทุกทิศทางเพ่อเลือกรับ
ี
ื
ี
ื
ส่อในรูปแบบและเน้อหาท่ตนเองสนใจ สื่อสารมวลชนกระแสหลัก
30 เรื่องเล่าคนท�างานสื่อสาธารณะ “ไทยพีบีเอส”