Page 58 - SolutionsCivicJournalism
P. 58
ั
�
งานท้งภาครัฐและเอกชน ต้องแสดงความโปร่งใสในการดาเนินงาน
ึ
โดยการเปิดเผยข้อมูลต่อสาธารณะ ซ่งส่วนมากมักใช้เว็บไซต์ของ
หน่วยงานเป็นช่องทางสื่อสาร
อย่างไรก็ตาม ข้อมูลท่ได้รับการเปิดเผยบนเว็บไซต์ของหน่วย
ี
�
ั
งานภาครัฐ รวมไปถึงองค์กรภาคเอกชน เกือบท้งหมดเป็นการนาเสนอ
ในรูปแบบของ “ข้อมูลดิบ” เช่น ตารางข้อมูลเชิงสถิติ รายงานของ
องค์กรวิชาชีพท่มีการใช้ศัพท์เฉพาะ (Jargon) หรือรายงานทางการ
ี
เงินท่มีความซับซ้อน ทาให้ประชาชนคนท่วไป แม้จะเข้าถึงข้อมูลได้
�
ั
ี
ื
แต่ก็ไม่เข้าใจและไม่สามารถนาไปใช้ประโยชน์ เน่องจากเป็นข้อมูล
�
ี
จ�านวนมาก ท่ไม่ผ่านการจัดระเบียบหรือเรียบเรียงนาเสนอในรูปแบบ
�
ที่เหมาะสม
“ส่อเชิงข้อมูล” จึงมีบทบาทในการเติมเต็มช่องว่างดังกล่าว
ื
ี
ด้วยการรวบรวมข้อมูล คัดสรร วิเคราะห์ และนาเสนอในรูปแบบท่คน
�
ั
ท่วไปเข้าถึงและเข้าใจได้ง่าย เป็นการยกระดับ “ข้อมูลดิบ” ให้กลาย
ี
เป็น “สารสนเทศ” ท่มีความหมาย ไม่ว่าจะเป็นในรูปแบบของบทความ
ี
ื
รายงาน ด้วยภาษาง่ายๆ รวมถึงการใช้รูปแบบท่ช่วยในการส่อสาร เช่น
ตารางข้อมูล กราฟ อินโฟกราฟิก เป็นต้น ทาให้ผู้บริโภคข่าวสารได้
�
ื
ประโยชน์จากการรับรู้เน้อหาสาระ และนาความรู้ไปใช้ได้ รวมไปถึงการ
�
ี
�
ตรวจสอบการทางานของภาครัฐและเอกชนว่าเป็นไปในทิศทางท่สนอง
ต่อประโยชน์ของประชาชน ผู้บริโภค และผู้มีส่วนได้เสีย เพียงใด
สื่อสาธารณะกับแนวทาง Solutions Civic Journalism 47