Page 60 - SolutionsCivicJournalism
P. 60
ื
เม่อถึงทศวรรษ 1990 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เร่มแพร่หลาย
ิ
ึ
�
ื
ิ
ท�าให้ส่อเชิงข้อมูลได้รับความสนใจเพ่มข้นตามลาดับ หนังสือพิมพ์เดอะ
์
่
้
�
ี
็
ั
การเดยน นาค�าวา Data journalism มาใช้เปนครงแรกในป ค.ศ.2009
ี
ื
่
ิ
และในปี ค.ศ.2010 ความต่นตัวต่อสอเชงข้อมูลกกลายเป็นกระแส เม่อ
็
ื
ื
“วิกิลีกส์” (WikiLeaks) เว็บไซต์ท่มีการนาเสนอข่าวสาร ด้วยการนา
ี
�
�
ึ
ข้อมูลเอกสารของรัฐบาลและบริษัท ซ่งเผยแพร่ต่อสาธารณะมาเป็น
ประเด็นข่าว ได้มีการเผยแพร่เอกสารเก่ยวกับสงครามในอัฟกานิสถาน
ี
์
ี
�
ื
ี
ื
และส่อมวลชนท่มีช่อเสียงอย่าง นิวยอร์กไทมส์ และเดอะการเดยน นา
ข้อมูลดังกล่าวไปเผยแพร่ต่อจนได้รับความสนใจจากทั่วโลก ส่งผลให้
ึ
แนวทางการนาเสนอข่าวดังกล่าวได้รับความสนใจเพ่มข้นอย่างกว้าง
ิ
�
ขวางด้วยเช่นกัน
ื
พอล แบรดชอร์ นักเขียน และนักฝึกอบรมส่อเชิงข้อมูล
ั
ื
ได้เขียนถึงการท�างานแบบส่อเชิงข้อมูลว่าประกอบด้วย 4 ข้นตอน
หลัก ได้แก่
6
1. การเข้าถึงข้อมูล หมายถึงการค้นหาและรวบรวมข้อมูล ซ่ง
ึ
ึ
ี
�
รวมถึงการพ่งพาผู้เช่ยวชาญหรือมีความรู้ความชานาญ ไป
ื
จนถึงการใช้ระบบคอมพิวเตอร์เพ่อช่วยในการจัดการข้อมูล
อย่าง MySQL หรือ Python ซึ่งเป็นซอฟต์แวร์โอเพนซอร์ส
6 Paul Bradshaw, How to be a data journalist, https://www.theguardian.com/
news/datablog/2010/oct/01/data-journalism-how-to-guide
สื่อสาธารณะกับแนวทาง Solutions Civic Journalism 49