Page 59 - SolutionsCivicJournalism
P. 59
�
ื
นอกจากน้ เม่อข้อมูลมีปริมาณมหาศาล และจาเป็นต้องม ี
ี
ื
ั
การวิเคราะห์สังเคราะห์เพ่อสร้างความหมายให้กับข้อมูลเหล่าน้น การ
จะทาความเข้าใจข้อมูลอาจต้องอาศัยผู้เช่ยวชาญเฉพาะทาง หรือ
ี
�
การนาเทคโนโลยีมาช่วยในการประมวลผล เพ่อแปลงข้อมูลท่ซับซ้อน
ี
�
ื
ให้เข้าใจได้ส�าหรับคนทั่วไป
อันท่จริง การรายงานข่าวสารบนพ้นฐานของการใช้ข้อมูลม ี
ื
ี
มานานเท่ากับการถือกาเนิดของส่อสารมวลชน แต่ในอดีต การเข้าถึง
�
ื
ื
ข้อมูลเป็นไปได้ยาก และไม่มีเทคโนโลยีช่วยการประมวลผล นักส่อสาร
ุ
ิ
ี
ั
มวลชนจึงต้องเผชญอปสรรคด้านความคุ้มค่า ดงกรณตวอย่าง
ั
หนังสือพิมพ์ซันเดย์ไทมส์ของประเทศอังกฤษ ท่มีการรายงานข่าวกรณ ี
ี
ยาระงับประสาทของบริษัทเยอรมัน เมื่อปี ค.ศ.1961 เป็นประเด็นที่
ยาของบรษทดังกล่าวถูกถอนออกจากตลาด เนองจากพบว่าม ี
ิ
่
ั
ื
ื
ื
ผลกระทบรุนแรงต่อทารก ซันเดย์ไทมส์จ่ายเงินเพ่อซ้อเอกสารภายใน
่
ื
�
ของบริษัทยา แต่เนองจากเอกสารมีจานวนมากและเป็นภาษาเยอรมัน
ท�าให้ต้องแปลข้อมูลทั้งหมดเป็นภาษาอังกฤษเป็นเวลาเกือบปี แม้ใน
ี
ท่สุดรายงานข่าวจะประสบความสาเร็จ และนาไปสู่การจ่ายเงินชดเชย
�
�
แก่ผู้เสียหาย แต่ก็เกิดค�าถามเรื่องความคุ้มค่าต่อการทุ่มเททรัพยากร
มากมายเพื่อการท�าข่าวชิ้นนี้
5
ื
5 เอกพล เธียรถาวร, วารสารศาสตร์ข้อมูลกับการรายงานข่าวของส่อไทย, วารสารร่มพฤกษ์
มหาวิทยาลัยเกริก, ปีที่ 34 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2559
48 เรื่องเล่าคนท�างานสื่อสาธารณะ “ไทยพีบีเอส”