Page 100 - AnnualReport256
P. 100
ี
ึ
ั
ำ
ื
ทางวัฒนธรรมท่จับต้องไม่ได้ลาดับท่สามของไทยส่การลงพ้นท่ กระท่งพบคุณค่าของโนราซ่งเป็นรากเหง้า
ี
ี
ู
ำ
ภูมิปัญญาของชุมชนท่กาลังเผชิญกับวิกฤติในช่วงสถานการณ์โควิด ส่งผลให้เกิดการทางานร่วมกับชุมชน
ี
ำ
ื
ุ
ั
ู
้
้
ิ
ั
ั
ำ
่
ื
ื
่
่
ั
เช่อมโยงองค์ความร้ กระท่งกระตนฟนคนอาชีพโนราผานการรวมพลงเครือขายจดกจกรรมคร้งใหญ ทาให้
ำ
ี
ั
ส.ส.ท. ได้รับการยอมรับจนเกิดเป็น ‘แบรนด์’ ท่จดจาได้ นอกจากน้น การผลิตละครท่ต้องใช้ความละเมียดละไม
ี
และละเอียดลออ ทาให้ละครเร่อง ‘จากเจ้าพระยาส่อิรวดี’ สร้างปรากฏการณ์ได้รับความนิยมและมีการบอกต่อ
ำ
ู
ื
ู
ี
ึ
ระหว่างผ้ชมสูงท่สุดเร่องหน่ง โดยละครไทยพีบีเอสได้รับการจดจาด้านการเปิดประเด็นวิพากษ์ให้คนดูได้ม ี
ื
ำ
ี
โอกาสวิเคราะห์และแสดงความคิดเห็นอย่างเปิดกว้าง เน้อหาของละครจะถูกนาเสนออย่างรอบด้าน ไม่ช้นา ำ
ำ
ื
และตัดสิน
ปี 2565 ยังเป็นปีแห่งการทางานเชิงรุกเพ่อสร้างการจดจาของสถานีไทยพีบีเอสในเวทีระดับสากล
ำ
ื
ำ
ผ่านการทางานของ Thai PBS World และรายการทันโลกกับท่น่ Thai PBS ในการนาเสนอข่าววิกฤติสถานการณ์โลก
ี
ำ
ี
ำ
ั
ำ
ื
ื
‘สงครามรัสเซีย-ยูเครน’ ท้งการเกาะติดสถานการณ์รายวันอย่างต่อเน่อง รอบด้าน การนาเสนอเน้อหาในแง่มุม
ที่แตกต่าง ขยายภาพ เชื่อมโยงให้สังคมเห็นผลของสงครามที่เกี่ยวข้องกับชีวิต ซึ่งเป็นหนึ่งในพันธกิจสำาคัญของ
ั
้
ื
ื
ั
่
ื
้
ื
่
้
ส.ส.ท. ในการใช้สอเพอขบเคล่อน สรางความต่นตว และสร้างความเขาใจใหกับคนไทยในฐานะพลเมืองโลก
รวมท้งมีการขยายช่องทางการส่อสารไปยังส่อสังคมออนไลน์ทาให้เกิดการเข้าถึง สร้างการรับร้ และจดจา
ื
ำ
ำ
ื
ั
ู
ำ
ุ
ี
ในกล่มคนดูได้มากข้น จนทาให้รายการทันโลกกับท่น่ Thai PBS และ Thai PBS World ได้รับการยอมรับ
ึ
ี
ู
ี
ในกล่มระดับผ้นาประเทศ วงการทูต และผ้เช่ยวชาญด้านต่างประเทศจากวงเสวนาต่างๆ ในฐานะส่อท่มีคุณภาพ
ู
ี
ำ
ื
ุ
ในการนำาเสนอข่าวต่างประเทศลำาดับต้นๆ ของไทย
ก�รประเมินด้�นคว�มพึงพอใจของผู้ชม และก�รสนับสนุนจ�กประช�ชน
ั
ี
ั
้
จากการสารวจกลมเปาหมายผรับชม/รบฟงรายการของไทยพบีเอสทกภูมภาค ท้งสน 2,107 ราย
ิ
ำ
ั
ิ
ุ
้
ู
้
ุ
่
ประกอบกับการวิเคราะห์ข้อมูลการรับฟังทางสังคมออนไลน์ (Social Listening) พบว่า ช่องทางของไทยพีบีเอส
ท่มีผ้ชม/ผ้ฟังนิยมมากท่สุด 4 ลาดับแรก คือ โทรทัศน์ดิจิทัลช่องหมายเลข 3 Thai PBS (ร้อยละ 64.06)
ู
ู
ี
ำ
ี
YouTube (ร้อยละ 60.29) TikTok (ร้อยละ 49.67) และ Facebook (ร้อยละ 44.89) ซึ่งสอดคล้องกับผลจาก
ุ
ุ
ื
ี
การวิเคราะห์ข้อมูลการรับฟังทางสังคมออนไลน์ท่พบว่าส่อของ ส.ส.ท. สามารถเข้าถึงคนทุกกล่ม และคนร่นใหม ่
ี
ท่นิยมใช้แพลตฟอร์มโซเชียลมีเดีย โดยผลิตภัณฑ์ของส.ส.ท.ถูกกล่าวถึง (Mentions) เป็นจานวน 101,475 คร้ง
ั
ำ
ี
ี
โดยร้อยละ 90 ถูกกล่าวถึงในช่องทาง Facebook YouTube และ Twitter มากท่สุด ขณะท่ร้อยละ 20
เป็นการกล่าวถึงในลักษณะชื่นชม ขณะที่ร้อยละ 10 เป็นการกล่าวถึงในแง่ติเตียน และเมื่อพิจารณาความสามารถ
ในการสร้างการมีส่วนร่วม (Engagement) ของผู้ชม/ผู้ฟังบนโลกออนไลน์ ส.ส.ท. ทำาได้จำานวน 470,022,187 ครั้ง
ึ
ซ่งกว่าร้อยละ 90 มาจากช่องทาง YouTube ขณะท่ Twitter และ Instagram เป็นช่องทางท่สร้างการม ี
ี
ี
ส่วนร่วมน้อยที่สุด และผู้ชายมีส่วนร่วมสูงกว่าผู้หญิง
ี
ื
ั
ำ
ท้งน้ เม่อวิเคราะห์จาแนกใน 6 มิติย่อย ภายใต้วาระกลางของ ส.ส.ท. “ลดความเหล่อมลำ้า
ื
ื
สร้างความเป็นธรรมทางสังคม” ในมิติด้านปัญหาเชิงโครงสร้าง มิติเน้อหาเชิงสืบสวนสอบสวน มิติการศึกษา
ท่สอดคล้องกับเร่องการศึกษาตลอดชีวิต (Lifelong learning) มิติด้านกล่มเปราะบางและกล่มเด็ก
ี
ุ
ื
ุ
มิติด้านจริยธรรม ความเป็นกลาง ความถูกต้อง มิติด้านการเป็นสื่อในภาวะวิกฤติ ผลการวิเคราะห์สะท้อนว่า
ส.ส.ท. ถูกกล่าวถึง (Mentions) ในมิติด้านปัญหาเชิงโครงสร้างมากที่สุด และมิติดังกล่าวมีขอบเขตของเนื้อหา
ี
ำ
ี
ี
ื
ื
กว้างท่สุดของผลิตภัณฑ์ของ ส.ส.ท. โดยเน้อหาสาคัญท่ถูกกล่าวถึงมากท่สุด ได้แก่ ส่อสาธารณะกับการจัด
98 Thai PBS 2565