Page 99 - AnnualReport256
P. 99

รายงานการประเมินผลการดำาเนินงาน
                         องค์ก�รกระจ�ยเสียงและแพร่ภ�พส�ธ�รณะแห่งประเทศไทย (ส.ส.ท.)
                                            ประจำ�ปี พ.ศ. 2565






                                                                  ่

                                ิ
                               ั
                                             ี
                  ตามพระราชบญญตองคการกระจายเสยงและแพรภาพสาธารณะแหงประเทศไทย พ.ศ.2551 มาตรา 50
                                                     ่
                            ั
                                   ์
                                                       ำ
             ำ
                                                                  ำ
            กาหนดให้คณะกรรมการนโยบายจัดให้มีการประเมินผลการดาเนินงานประจาปีขององค์การ โดยคณะกรรมการ
            ประเมินผล ซ่งศูนย์บริการวิชาการแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้ดาเนินการประเมินผลตามขอบเขตของ
                       ึ
                                                               ำ
            แผนงานและยุทธศาสตร์ภายใต้แผนบริหารกิจการของ ส.ส.ท. ในปี พ.ศ. 2565 คือ ยุทธศาสตร์ท่ 1 สร้าง
                                                                                    ี

                                                                   ื
            ความแตกต่างจากจุดแข็ง ยุทธศาสตร์ท่ 2 สร้างความค้มค่าจากการขับเคล่อนให้เกิดการเปล่ยนแปลง และ
                                         ี
                                                                                ี
                                                     ุ
                      ี
                                 ั
            ยุทธศาสตร์ท่ 3 สร้างความย่งยืนจากการต่อยอดและพลังเครือข่าย โดยอาศัยข้อมูลจากแหล่งข้อมูลทุติยภูมิและ
                                                                               ั
                                                                      ุ
            ข้อมูลปฐมภูมิจากการสัมภาษณ์ การสอบถาม และการสนทนากล่ม ครอบคลุมกล่มเป้าหมายท้งคณะกรรมการ
                                                           ุ
            นโยบาย คณะกรรมการบริหาร บุคลากร ผู้ชม/ผู้ฟังรายการ และภาคพันธมิตรที่เกี่ยวข้อง และนำาข้อมูลที่ได้
            เข้าสู่กระบวนการประมวลผลและวิเคราะห์ที่สามารถสรุปสาระสำาคัญ ได้ดังนี้
                  ก�รประเมินด้�นประสิทธิผลของก�รดำ�เนินง�นต�มแผนง�น ประจำ�ปี 2565
                                      ำ
                  การวัดประสิทธิผลของการดาเนินงานในปี 2565 พิจารณาจาก 2 องค์ประกอบหลัก คือ 1. ความน่าเช่อถือ
                                                                                       ื
                                                                                         ุ
                                                                               ั
                                                            ั
                                                        ื
                                                     ี
                                                      ั
                                                      ่
                                                     ่
                                                                             ่
                                                                             ุ
                                    ้
                      ื
                                                                       ิ
                      ่
                                           ้
                                                          ่
                                                   ำ
                                                                                  ่
            และบทบาทสอสาธารณะ และ 2. ดานการสรางความจดจาทยงยน ซงวดผลการประเมนจากกลมตวอยางครอบคลม
                                                          ึ
                                                       ่
                                         ี
                                          ี
                                                             ำ
                                                    ั
                         ู
                         ้
                                                                               ั
              ้
                                                                         ็
                ุ
                              ั
            ทงบคลากร และผชม/ผฟงรายการไทยพบเอส (2,107 ตวอยาง) โดยกาหนดคะแนนเปน 5 ระดบ โดย 1 คะแนน
                             ้
                             ู
              ั
                                                     ี
                         ี
            เป็นระดับน้อยท่สุด และ 5 คะแนน เป็นระดับมากท่สุด ประกอบกับการวิเคราะห์ข้อมูลการรับฟังทาง
            สังคมออนไลน์ (Social Listening) ผลการประเมินประสิทธิผลของการดำาเนินงานในส่วนด้านคว�มน่�เชื่อถือ
                                                                            ื
            และบทบ�ทส่อส�ธ�รณะ พบว่า มีประสิทธิผลสูง ท้งด้านความถูกต้องในการนาเสนอเน้อหา (3.86 คะแนน)
                                                  ั
                                                                     ำ
                      ื
                        ื
                            ี
            การออกแบบเน้อหาท่เหมาะสมกับแพลตฟอร์มและกล่มเป้าหมายขององค์กร (3.64 คะแนน) และการเป็น
                                                    ุ
            หลักสำาคัญด้านวารสารศาสตร์ภายใต้กระแส “ข้อมูลเป็นเท็จ กุขึ้นมา และบิดเบือน” (3.76 คะแนน) แต่ทั้งนี้
                                                                           ู
                                     ื
                 ำ
            “การนาเสนอข้อมูลข่าวสารและเน้อหาสาระมีการปรับตามพฤติกรรมและรสนิยมของผ้ชม” ยังมีประสิทธิผล
                                                                 ้
                                                        ี
                                                         ั
                                                                           ื
                                      ้
                                             ้
                                     ี
                              ั
                                     ่
            ในระดับปานกลางเท่าน้น ขณะทด�นก�รสร�งคว�มจดจำ�ท่ย่งยืน และด�นก�รขับเคล่อนประเด็นท�งสังคม
            จ�กส�รคดี “คนจนเมือง” มีประสิทธิผลมากทั้งสิ้น (3.96 และ 3.81 คะแนน ตามลำาดับ)
                    ึ
                    ่
                        ื
                                                        ้
                                                                  ่
                                                                                       ้
                                                                                 ำ
                                      ำ
                  อนง เม่อพิจารณาผลการดาเนินงานของ ส.ส.ท. ดานความโดดเดน แตกต่างในการนาเสนอเนอหา
                                                                                       ื
              ื
                             ำ
                                ั
            เพ่อการสร้างความจดจาท่ย่งยืน (Leave a mark) ปี พ.ศ. 2565 ส.ส.ท. มีทิศทางการดาเนินงานในรูปแบบ

                                                                            ำ
                               ี

                                                                             ื
            “หย่งรากวัฒนธรรม ขับเคล่อนสังคม ก้าวทันส่การเป็นพลเมองโลก” นาส่การออกแบบเน้อหา กระบวนการ
                                                                ำ
                                              ู
                                                        ื
                                 ื
                ั
                                                                  ู
                                                                                         ้
                                     ำ
                                        ่
                     ื
            สร้างสรรคส่อและการสร้าง ‘ภาพจา’ ผานงานด้านการขบเคล่อนทางวัฒนธรรม ศูนย์สอศลปวฒนธรรมได้สราง
                    ์
                                                    ั
                                                                            ิ
                                                                               ั
                                                                         ื
                                                        ื
                                                                         ่
            ผลงานที่โดดเด่นคือ การพลิกฟื้น ‘โนรา’ จากจุดเริ่มต้นที่ประเด็นข่าว ยูเนสโกประกาศให้ ‘โนรา’ เป็นมรดก
                                                                              Thai PBS 2565  97
   94   95   96   97   98   99   100   101   102   103   104