Page 133 - ThaiPBSWAY3
P. 133
ึ
ี
ความโกรธและเกลียดชังน้น เช่น กรณีท่สถานีวิทยุยานเกราะยุคหน่ง
ั
�
ึ
้
ทาซาถ้อยคา จนทาให้กลุ่มมวลชนกลุ่มหน่งเกลียดชังนักศึกษา บุกเข้าไป
�
�
�
�
�
ทาร้าย ทาทารุณกรรม นักศึกษาในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ด้วยความ
เชื่อจากสารของสถานีวิทยุว่า คนเหล่านั้นไม่ใช่คนไทย
ดังนั้น สื่อที่ประกอบวิชาชีพสื่อสารมวลชน เป็นอาชีพหลัก ควรต้อง
พิจารณาว่า ถึงแม้สื่อก็เป็นเช่นเดียวกับคนโดยทั่วไป คืออาจมีความเชื่อ
หรือทัศนคติต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องศาสนา สังคม การเมือง หรือมีความ
ึ
ไม่พึงพอใจแหล่งข่าว นักการเมืองฝ่ายใดฝ่ายหน่ง อารมณ์และความรู้สึก
�
�
ี
ี
ท่เหนือเหตุผลเหล่าน้ จะต้องระมัดระวัง ไม่นามาปะปนกับการทาหน้าท ี ่
บน “พื้นที่สำธำรณะ” ไม่ใช้ Hate Speech บนหน้าจอ หรือบนพื้นที่
ออนไลน์
่
กรณีศึกษา การละเมิดจริยธรรมสือออนไลน์
การละเมิดจริยธรรม การใช้ภาพในปกข่าว การใช้ค�า รวมทั้งปัญหา
�
ในแง่เทคนิค ซ่งส่งผลให้เกิดคาถามว่า ส่อละเมิดจริยธรรมหรือไม่
ื
ึ
ี
หากไม่ได้มีเจตนาหรือจงใจ และสามารถท่จะอ้างให้พ้นความรับผิด
ได้หรือไม่
ี
ภำพต่อไปน้ ซ่งส่วนใหญ่เป็น ภำพของไทยพีบีเอส มีบำงภำพท ี ่
ึ
ต้องกำรแสดงให้เห็นข้อควรระวังในกำรใช้ภำพ และกำรเลือกใช้ค�ำใน
หัวข่ำว เป็นเพียงตัวอย่ำงประกอบค�ำอธิบำย ไม่ได้เป็นแนวปฏิบัติของ
ื
ไทยพีบีเอส โดยหนังสือเล่มน้ จะไม่ใช้ตัวอย่ำงจำกองค์กรส่อภำยนอก
ี
ซึ่งอำจเกิดกรณีโต้แย้งสิทธิและควำมถูกต้องได้
133