Page 130 - ThaiPBSWAY3
P. 130

หัวข่าวและการเขียนข่าวออนไลน ์



              ั
                                     ื
          ดังน้น หากเป็นเพียง ข่าวคลาดเคล่อน ข้อมูลไม่ถูกต้อง หรือ
                         ั
        Misinformation  อีกท้งขาด “เจตนำพิเศษ” ก็ไม่เป็นความผิดตาม
        พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระท�าความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
          อย่างไรก็ตาม ถึงแม้ข่าวที่คลาดเคลื่อน ข้อมูลไม่ถูกต้อง จะไม่ถือว่า
        เป็น “เฟกนิวส์” แต่ผู้ให้หัวข่าว หรือเขียนข่าว ก็พึงต้องระมัดระวัง
        ไม่ให้หัวข่าว หรือเขียนข่าวให้คนเข้าใจ ตีความผิด หรือเป็นเหยื่อในการ
        กระจายเฟกนิวส์โดยไม่รู้ตัว

          กรชนก รักษาเสรี อนุกรรมการฝ่ายต่างประเทศ สมาคมนักข่าว
        นักหนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทย เสนอรายงานหัวข้อเฟกนิวส์ (Fake
                               ้
                             ์
                   ่
              ั
        News) วชพชแหงวารสารศาสตร ไวในเพจ “จุลสำรรำชด�ำเนิน” (สงหาคม
                                                   ิ
                ื
                  ้
                                                 ์
        ๒๕๖๐) โดยอางอิงความเห็นของศาสตราจารย์สตีเวน ไรเนอร (Steven
        Reiner) แห่งมหาวิทยาลัยสโตน่ บรู๊ก (Stony Brook University)
                               ี
                        ื
                               ู
                                   ั
         ี
        ท่เคยมาจัดการอบรมเร่อง “กำรร้เท่ำทนข่ำว” หรือ News Literacy
                                          �
        ให้กับนักข่าวไทยและฟิลิปปินส์ โดยมีคาแนะนา ในการพิจารณา
                                     �
        ความน่าเชื่อถือ ของบทความ และเนื้อหา ดังนี้
          ๑. สรุปเนื้อหา เปรียบเทียบกับพาดหัวข่าวว่าตรงกันหรือไม่
          ๒. ไหนล่ะ หลักฐาน เป็นหลักฐานทางตรงหรือทางอ้อม นักข่าวไป
        เห็นมาเองหรือไม่
          ๓. พจารณาความน่าเช่อถือของแหล่งข่าว (แหล่งข่าวมีความเป็นอิสระ
               ิ
                          ื
              ื
                    ื
        หรือมีเบ้องหน้าเบ้องหลังอย่างไร ตรวจสอบจากหลายๆ แหล่ง ดีกว่าแหล่ง
        เดียว แหล่งข่าวแสดงหลักฐานด้วยดีกว่าพูดลอยๆ แหล่งข่าวเป็นผู้เข้าถึงข้อมูล
        และเป็นผู้รู้จริงหรือไม่ และแหล่งข่าวพร้อมท่จะให้ข้อมูลแบบเปิดเผยตัวต่อ
                                     ี
        สาธารณชน ย่อมดีกว่าแหล่งข่าวท่จะให้ข้อมูลแบบไม่เปิดเผยตัวตน)
                              ี
                              130
   125   126   127   128   129   130   131   132   133   134   135