Page 127 - ThaiPBSWAY3
P. 127
ตัวอย่างค�าที่ใช้ในหัวข่าวแบบคลิกเบท เช่น ตะลึง ทึ่ง อึ้ง เมื่อก่อน
ี
ิ
ี
ี
ี
ี
�
เขาไม่ได้เป็นเช่นน้ แต่วันน้เขาเป็นเช่นน้ไปแล้ว น่คือส่งท่เขาทา รู้แล้ว
ื
ต้องช็อก ฯลฯ เม่อคลิกเข้าไป ก็อาจจะพบเน้อหาท่ไม่ได้เก่ยวข้องกับ
ี
ี
ื
ี
ั
หัวข่าวเลย หรือเป็นข่าวธรรมดาๆ ท่เรารู้กันอยู่ท่วไปแล้ว หรือมากไป
ั
ึ
ี
ี
กว่าน้น อาจพบข่าวท่เขียนข้นมาเอง โดยท่ไม่มีข้อมูล ข้อเท็จจริงเลย
�
ในวิชาชีพเรียกว่า “เต้ำข่ำว” เป็นการผสมคาระหว่าง เต้า + ข่าว แปลว่า
�
�
ึ
ื
แต่งเร่องข้นแล้วนาเสนอเป็นข่าว มีความหมายเช่นเดียวกับคาว่า
“นั่งเทียนเขียนข่ำว” ในยุคสื่อหนังสือพิมพ์นั่นเอง
�
แต่หัวข่าวท่มีลักษณะต้งคาถามเช่นเดียวกัน แต่มีคาตอบชัดเจนใน
�
ั
ี
ื
ึ
เน้อข่าว เป็นวิธีการให้หัวข่าวลักษณะหน่ง เช่น “นำยกฯ งดรับเงินเดือน
่
่
ี
ช่วยเหลือประชำชนก่บำท?” ไมเรยกวา “คลิกเบท” เพราะไมใชหวขาว
่
ี
ั
่
่
ลวง อย่างไรก็ตาม ต้องระมัดระวังในการให้หัวข่าวลักษณะนี้
ั
่
ประเดนความผดในเรองจรยธรรมหวข่าว แบบคลกเบท กคอ
็
็
ิ
ิ
ื
ื
ิ
�
ั
�
การนาเสนอเน้อหาท่ปกปิดข้อเท็จจริงท้งหมด หรือบางส่วน ทาให้ผู้รับสาร
ื
ี
ส�าคัญผิด ไม่สามารถรับรู้ข้อมูลข่าวสารได้อย่างครบถ้วน
การเสนอข่าว ท่ใช้หัวข่าวแบบคลิกเบท เป็นวิธีการทามาหากิน
ี
�
ของผู้ใช้เครื่องมือสื่อสารโดยมีเป้าหมายในการหารายได้ ส�าหรับผู้ที่อยู่
ื
ในวิชาชีพส่อ การให้หัวข่าวแบบคลิกเบท อาจได้ผลตอบรับบ้าง แต่ก็เป็นเพียง
ั
ระยะส้น หากผู้รับสารพบว่าเป็นการให้หัวข่าว ด้วยจุดประสงค์ท่ต้องการ
ี
ลวงให้เข้าไปอ่าน เขาจะไม่เข้าไปอ่านอีก
127