Page 128 - ThaiPBSWAY3
P. 128

หัวข่าวและการเขียนข่าวออนไลน ์



        ข่าวปลอม เฟกนิวส์ (Fake News)
        ไวรัสวารสารศาสตร์



                                              ี
                                                  ึ
          เฟกนิวส์ (Fake News) เป็นปรากฏการณ์ร่วมท่เกิดข้น ในยุค
                ี
                                                    ื
                               ื
        แห่งการเปล่ยนแปลงของภูมิทัศน์ส่อ ด้วยการเข้าถึงเทคโนโลยีการส่อสาร
                                                    ื
        สมัยใหม่ ท่กล่าวกันว่า ใครๆ ก็เป็นนักข่าวได้ ทาให้มีการผลิตเน้อหา
                                         �
                ี
                  ี
                                      ั
         �
        จานวนมาก ท่มีจุดประสงค์หลากหลาย ท้งการจงใจผลิตข่าวปลอม
                                            ี
        การแชร์ข่าวปลอมโดยไม่มีการตรวจสอบ รวมไปถึงเจตนาท่จะสร้างข่าวปลอม
            ั
                                   ิ
          ื
          ่
        เพอวตถประสงค์ทางการเมอง เช่น ปฏบตการข่าวสาร (Information
                           ื
              ุ
                                     ิ
                                    ั
                       ื
                       ่
                                                      ่
                            ื
                                                      ื
                                        ่
                            ้
                                        ื
                                            ื
        Operation - IO) เพอผลิตเนอหาโน้มน้าวให้เชอ หรอโฆษณาชวนเชอ
        ให้ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง ในขณะเดียวกัน ก็เป็นการลดทอนความน่าเชื่อถือใน
        ข้อมูลข่าวสารของอีกฝ่ายหนึ่งด้วย
          เฟกนิวส์ ก็ไม่แตกต่างจากโรคระบาด ท่แพร่กระจายไปอย่างรวดเร็ว
                                     ี
        เชื้อโรคร้ายของเฟกนิวส์นี้ เราอาจเรียกว่าเป็น “ไวรัสวำรสำรศำสตร์”
        (Journalism Virus) ในแต่ละวันเครื่องมือสื่อสารสมัยใหม่ ได้ถูกใช้ผลิต
        ข่าวปลอม ปะปนไปกับข่าวจริง จาเป็นต้องแยกแยะและตรวจสอบแหล่ง
                              �
         ี
        ท่มา ท่เช่อถือได้ ก่อนจะเผยแพร่ต่อไป อย่างไรก็ตาม ควรเข้าใจความ
               ื
             ี
                              ั
                �
        หมายของคาว่า “เฟกนิวส์” ท้งในเชิงวารสารศาสตร์ และในมุมของ
        กฎหมายก่อนที่จะศึกษาเรื่องเฟกนิวส์ต่อไป
          แม้ข่าวปลอม คือ เฟกนิวส์ แต่ข่าวท่มีลักษณะคลาดเคล่อนจาก
                                                  ื
                                     ี
                                                 ี
        ข้อเท็จจริงไปบ้าง ไม่เรียกว่าเป็นเฟกนิวส์ แต่เป็นข้อมูลท่ไม่ถูกต้อง
        (Misinformation)  หรืออาจเป็นความไม่รอบคอบถ่ถ้วนของผู้ให้หัวข่าว
                                          ี
        เช่น หัวข่าวและเนื้อข่าว  “เศรษฐีอินเดียแห่บินหนีโควิด-๑๙ บางล�าบิน
                                                 �
                                         ื
        เข้าไทย” ข้อเท็จจริงก็คือ เศรษฐีอินเดีย เช่าเคร่องบินเหมาลาบินออก
        นอกประเทศจริง และมีผู้ถือสัญชาติอินเดีย บางคนเตรียมท่จะบินเข้า
                                                 ี
        ประเทศไทยจริง แต่ไม่ได้มากับเคร่องบินแบบเหมาลา ซ่งหากความหมาย
                               ื
                                            ึ
                                          �
                              128
   123   124   125   126   127   128   129   130   131   132   133