Page 160 - AnnualReport2563
P. 160

ช่อง 34 (อมรินทร์ทีวี) และลำาดับที่ 5 ช่อง 35 (7HD) ส่วนในด้านความพึงพอใจต่อการรายงานสถานการณ์ในภาพรวม
                                                                                                         ื
                      ู
                     ผ้ชมมีความพึงพอใจในระดับมาก โดยเฉพาะประเด็นด้านความรวดเร็ว ฉับไว ทันต่อเหตุการณ และต่อเน่อง และ
                                                                                                ์
                                                                                                          ี
                                                              ื
                     เน้อหา/ข้อมูลเป็นข้อเท็จจริงมีความถูกต้องและเช่อถือได้จากแหล่งข้อมูลภาครัฐ และสร้างความเข้าใจท่ถูกต้อง
                       ื
                     ต่อสถานการณ์


                                                              ำ
                                                     ื
                          ด้านการสนับสนุนจากประชาชน เน่องจากการดาเนินงานของส.ส.ท.ในปัจจุบันพ่งพารายได้จากภาษีบุหร่และสุรา
                                                                                       ึ
                                                                                                         ี

                                                                                          ั
                     และหากไม่ได้รับการสนับสนุนจากภาษีดังกล่าว ส.ส.ท. จะไม่สามารถดาเนินการได ดังน้น จากการสารวจความยินด  ี
                                                                                                    ำ
                                                                            ำ
                                                                                     ้
                       ี
                              ื
                                      ้
                                                     ำ
                     ท่จะจ่ายเพ่อรักษาให ส.ส.ท. สามารถดาเนินการได้ต่อไปในฐานะผ้รับชมรายการ ผลการสารวจพบว่าประชาชน
                                                                           ู

                                                                                              ำ

                     ร้อยละ 11.65 มีความยินดีที่จะจ่ายเพื่อสนับสนุนส.ส.ท.เฉลี่ยเดือนละประมาณ 150 บาท


                          ข้อเสนอแนะต่อการดำาเนินงานของ ส.ส.ท.

                          1. ส.ส.ท. มีจุดแข็งในด้านการได้รับการยอมรับว่าการนาเสนอเน้อหามีความน่าเช่อถือ ถูกต้อง เป็นธรรม และ
                                                                            ื
                                                                                         ื
                                                                     ำ
                                                                            ู
                                                                              ำ
                                                       ื
                                          ี
                                                     ึ
                     ในด้านการนาเสนอคุณค่าท่ดีต่อสังคม ซ่งเอ้อให้สามารถแสดงบทบาทผ้นาและการเป็นแหล่งตรวจสอบข้อมูลข่าวสาร
                               ำ
                                                         ิ
                                            ิ
                              ้
                     ในสังคมได โดยเฉพาะอย่างย่งในสภาวะวิกฤต และสามารถมีบทบาทในการผลักดันให้เกิดความตระหนักและเกิดการ
                     ขับเคลื่อนประเด็นทางสังคมที่สำาคัญ ดังนั้น ส.ส.ท. จึงควรมุ่งเน้นการพัฒนาเนื้อหาด้านข่าวและสารคดีที่มีความลึกซึ้ง
                     ทั้งด้านเนื้อหา และมีนวัตกรรมการนำาเสนอเนื้อหาที่ทันสมัย ชวนให้ติดตาม เหมาะสมกับพฤติกรรมการเปิดรับเนื้อหา
                                            ื
                                                                                    ำ
                                                                                                     ู
                     แต่ละแพลตฟอร์ม และใช้เน้อหาด้านข่าวและสารคดีท่มีคุณภาพสูงเป็นผลผลิตนาในการสร้างการรับร้อัตลักษณ์ของ
                                                                ี
                                                      ี
                                                        ุ
                     องค์กร ซึ่งเป็นการตอบสนองยุทธศาสตร์ท่ม่งเน้นการสร้างเน้อหาท่โดดเด่นและสร้างสรรค์การเรียนร้ตลอดชีวิต และ
                                                                                                   ู
                                                                     ื
                                                                         ี
                     เพื่อเป็นการขยายฐานผู้ชม
                          2. ส.ส.ท. ควรพิจารณาหาจุดสมดุลระหว่างการนาเสนอเน้อหาที่สะท้อนบุคลิกองค์การในการเป็นส่อสาธารณะ
                                                                ำ
                                                                       ื
                                                                                                       ื

                                                                     ำ
                       ี
                                           ี
                     ท่เน้นการให้ข้อมูล ความร้ท่ค่อนข้างจริงจังแก่สังคม กับการนาเสนอเน้อหาท่ให้ความบันเทิง มีประเด็นท่คนในสังคม
                                                                                                       ี
                                          ู
                                                                            ื
                                                                                 ี
                     ปัจจุบัน โดยเฉพาะอย่างย่งคนร่นใหม่เห็นว่ามีความเก่ยวข้องกับตน มีข้อมูลท่ทันสมัย เป็นประโยชน และมีวิธีการ
                                                                                   ี
                                          ิ
                                              ุ
                                                                                                     ์
                                                                ี
                                                                 ู
                                     ี
                     นาเสนอในรูปแบบท่ดึงดูดใจ สอดคล้องกับรสนิยมของผ้ชมในปัจจุบัน พร้อมท้งควรผลักดันและขยายการสร้างสรรค ์
                                                                                  ั
                       ำ
                                                                      ิ
                                              ื
                                                                                           ำ
                                                  ู
                     เน้อหาแบบบูรณาการและข้ามส่อไปส่เน้อหาให้ครอบคลุมมากย่งข้น จนเป็นแนวทางการดาเนินการสร้างสรรค์เน้อหา
                                                                                                            ื
                       ื
                                                                        ึ
                                                    ื
                     หลักของ ส.ส.ท.ในที่สุด


                          3. ส.ส.ท. ควรต้องพิจารณาการปรับโครงสร้างองค์กร หรือการพัฒนาทักษะของบุคลากรให้เอ้อต่อการสร้างสรรค ์
                                                                                                 ื
                                                                                   ี
                                                  ้
                                                                      ื

                     เน้อหาแบบบูรณาการ รวมถึงการใช Media Lab พัฒนาเน้อหาในรูปแบบท่เหมาะสมสาหรับแพลตฟอร์มต่าง ๆ
                                                                                            ำ
                       ื
                     ในขณะเดียวกัน การปรับโครงสร้างองค์กรแบบ Content-Based Structure โดยการสร้างศูนย์เน้อหาพิเศษ หรือ
                                                                                                   ื
                                                                                                        ึ
                                                                                            ี
                       ี
                     ท่เรียกภายในองค์การว่า BU (Business Unit) เป็นทิศทางท่เหมาะสมในการผลิตผลงานท่มีคุณภาพสูง ซ่งสามารถ
                                                                     ี
                                                          ้
                                                                                                  ่
                                                      ้
                                                                                            ื
                                                                                               ้
                           ู
                           ่
                                                                ้
                                                                                                            ื
                                                                                                            ้
                               ึ
                       ำ
                                                                                                        ้
                               ่
                                                                                            ้
                                                          ั
                                                                                          ี
                     นาไปสการพงพาตนเองทางดานรายได พรอมทงควรสรางกลไกการแบงปนผลประโยชน์ทเออใหหนวยงานดานเนอหา
                                                   ้
                                                                            ่
                                            ้
                                                                              ั
                                                                                          ่
                                                                                                         ื
                                                             ื
                     ภายในองค์การสามารถเป็นภาคีกันในการแบ่งปันเน้อหา หรือสร้างโครงการแบบบูรณาการในอนาคต และเพ่อพัฒนา

                     ความแข็งแกร่งของการดำาเนินงานของ ส.ส.ท.ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
                          4. การพัฒนาการบริหารงานด้านทรัพยากรบุคคลมีความจาเป็นท่ต้องเร่งดาเนินการอย่างเป็นรูปธรรมเพ่อผลักดัน
                                                                                                         ื
                                                                                  ำ
                                                                      ำ
                                                                            ี
                     การดาเนินงานตามแผนงาน รวมถึงด้านการติดตามการประเมินผลการดาเนินงานในระยะต่าง ๆ ซ่งการดาเนินการ
                                                                                                   ึ
                                                                              ำ
                          ำ

                                                                                                        ำ
                     ดังกล่าวจะส่งผลโดยตรงกับบุคลากรในทุกส่วนงาน ท้งในมิติด้านความเข้าใจในระบบการประเมินผลรายบุคคล
                                                                 ั
                     มิติด้านการดำาเนินงานเพื่อให้สามารถบรรลุเป้าหมายการประเมินผลได้ พร้อมทั้งการพัฒนาการวางแผนความก้าวหน้า
                     ทางวิชาชีพที่สามารถเห็นเป้าหมายที่ชัดเจนได้
                                                                                                           159
                                                                                                  ไทยพีบีเอส 2563
   155   156   157   158   159   160   161   162   163   164   165