Page 159 - AnnualReport2563
P. 159
ผลการประเมินที่น่าสนใจในมิติด้านวัฒนธรรมองค์กรยังขาดความเหมาะสมกับเป้าหมายของ ส.ส.ท. ทั้งในปัจจุบันและ
ึ
ี
อนาคต ซ่งผลการประเมินดังกล่าวสอดคล้องกับผลการสัมภาษณ์เชิงลึกจากบุคลากรท่สะท้อนไปในทิศทางเดียวกันว่า
ส.ส.ท.ยังขาดวัฒนธรรมองค์กรที่ชัดเจน กล่าวคือ บุคลากรภายในหน่วยงานมีลักษณะของความเป็นปัจเจกค่อนข้างสูง
ู
้
ี
ี
ื
ื
ื
เน่องจากมีท่มาท่หลากหลาย ประกอบกับการเป็นองค์กรส่อ แมส.ส.ท.จะมีการจัดกิจกรรมเพ่อเสริมสร้างการอย่ร่วมกัน
ู
ี
และการสร้างวัฒนธรรมองค์กร หากแต่ยังไม่สามารถผลักดันผลท่เกิดจากกิจกรรมไปส่เป้าหมายการสร้างวัฒนธรรม
ั
ี
องค์กรท่ชัดเจนได ดังน้น ส.ส.ท. ควรพิจารณาการสร้างวัฒนธรรมองค์กรในรูปแบบการประสานความหลากหลาย
้
ให้สามารถอยู่ร่วมกันได้ผ่านรูปแบบการจัดกิจกรรมที่มุ่งเน้นการมีส่วนร่วมอย่างทั่วถึง
การประเมินด้านความพึงพอใจของผู้ชมและการสนับสนุนจากประชาชน
จากการสำารวจประชาชนกลุ่มเป้าหมายผู้รับชม/รับฟังรายการของส.ส.ท.หรือไทยพีบีเอสทั้งสิ้น 2,360 ตัวอย่าง
ี
ี
ครอบคลุมทุกภูมิภาคของประเทศ ในภาพรวมการประเมินผลพบว่าช่องทางท่มีผ้รับชมมากท่สุด 4 ลำาดับแรก คือ
ู
โทรทัศน์ดิจิทัลช่องหมายเลข 3 Thai PBS (ร้อยละ 29.93) YouTube (ร้อยละ 10.42) โทรทัศน์ดิจิทัลช่องหมายเลข 4
่
ี
ื
ั
้
ั
ี
้
ู
่
ู
้
้
ั
ู
่
ุ
ุ
้
ALTV (รอยละ 9.66) และ Facebook (รอยละ 9.23) โดยกลมรายการทผชม/ผฟงรจกมากทสด 3 ลำาดบแรก คอ
กลุ่มรายการข่าว (ร้อยละ 90.98) กลุ่มรายการสารคดี (ร้อยละ 65.65) และกลุ่มรายการวาไรตี้ (ร้อยละ 50.93)
หากพิจารณาในมิติด้านความพึงพอใจพบว่า ในภาพรวมของทุกกล่มรายการได้คะแนนความพึงพอใจอย่ใน
ุ
ู
ุ
ี
ระดับมาก โดย 3 ลาดับแรก คือ กล่มรายการข่าว กล่มรายการสารคด และกลุ่มรายการเด็กและเยาวชน และเม่อ
ุ
ื
ำ
ุ
ี
ำ
พิจารณาถึงประโยชน์ท่ได้รับจากการรบชม/รับฟังรายการต่อผลผลิตในแต่ละกล่มรายการท่นาเสนอ ปรากฏว่าทุกผลผลิต
ี
ั
ั
ได้รับความพึงพอใจในระดับมากท้งส้น กล่าวคือ ผลผลิตด้านข่าวได้รับความพึงพอใจในระดับมากท่ระดับคะแนน
ี
ิ
ื
ื
มากท่สุดเม่อเปรียบเทียบกับผลผลิตด้านอ่น (3.63 คะแนน) โดยเฉพาะประโยชน์ด้านการเป็นแหล่งข้อมูลข่าวสารท่ม ี
ี
ี
ี
ความถูกต้องและเช่อถือได เป็นแหล่งข้อมูลข่าวสารท่ฉับไว ทันต่อสถานการณ และการสร้างความตระหนัก ต่นตัว
ื
ื
์
้
และให้ความสาคัญกับปัญหา/สถานการณ์/เร่องราวในการดาเนินชีวิต/สังคม/โลก ในขณะท่ผลผลิตด้านสารคดีได้รับ
ื
ำ
ี
ำ
ั
ื
ความพงพอใจในระดบมากเชนกน (3.61 คะแนน) โดยเฉพาะประโยชนดานสามารถนาความรทไดไปใชในชวต หรอ
ำ
ึ
ั
้
์
้
้
่
้
ิ
่
ี
ี
ู
การทำางาน ครอบครัว และสังคม และการเกิดความรู้ใหม่ แนวคิดใหม่ และการสร้างมุมมองที่สร้างสรรค์ ส่วนผลผลิต
ด้านเด็กและเยาวชน ได้รับความพึงพอใจในระดับมาก (3.61 คะแนน) โดยด้านเสริมสร้างจินตนาการ การแสดงออก
์
ความสามารถ และความคิดสร้างสรรค ด้านส่งเสริมการเรียนร้และกระต้นพัฒนาการด้านสติปัญญาได้รับคะแนนสูง
ุ
ู
ท่สุด ผลผลิตด้านกีฬา/นันทนาการได้รับความพึงพอใจในระดับมาก (3.53 คะแนน) โดยด้านสร้างความสนใจและ
ี
์
อยากมสวนรวม/ตดตามการแข่งขนกฬาไดคะแนนมากทสด ผลผลตด้านละครซรสไดรบความพงพอใจในระดับมาก
่
ี
ี
้
ี
้
ึ
ิ
ิ
่
ี
ุ
่
ี
ั
ั
(3.50 คะแนน) โดยด้านเกิดความร้สึกเพลิดเพลิน/ผ่อนคลาย และให้แง่คิด การสร้างความเข้าใจในสังคม วัฒนธรรม
ู
ี
ี
ี
ท่หลากหลายได้คะแนนมากท่สุด ผลผลิตด้านรายการวาไรต้ได้รับความพึงพอใจในระดับมาก (3.47 คะแนน) โดย
่
่
ด้านเกิดความร้ใหม แนวคิดใหม และการสร้างมุมมองท่สร้างสรรค์ได้คะแนนมากท่สุด และผลผลิตด้านรายการ
ี
ี
ู
ั
ิ
่
ึ
ภาคพลเมองไดรบความพงพอใจในระดบมาก (3.48 คะแนน) โดยดานการสรางใหเกดความมนใจในการแสดงออก
ั
ื
้
ั
้
้
้
ซึ่งคุณค่าของวิถีท้องถิ่นได้คะแนนมากที่สุด
นอกจากนั้น เมื่อพิจารณาถึงการดำาเนินงานในปี พ.ศ.2563 ของส.ส.ท.มีภารกิจที่มุ่งเน้นการนำาเสนอสถานการณ์
การแพร่ระบาดของโควิด 19 ในทุกช่องทางอย่างต่อเน่อง เพ่อเป้าหมายในการสร้างความเข้าใจให้แก่ประชาชน
ื
ื
ในวงกว้าง ซ่งผลการดาเนินงานมีการประเมินผลความพึงพอใจต่อการดาเนินงานในสถานการณ์พิเศษดังกล่าว
ำ
ำ
ึ
ผลการประเมินสะท้อนประสิทธิภาพอย่างชัดเจนของการดาเนินงาน กล่าวคือ หากพิจารณาการเลือกรับชมและ
ำ
เชื่อถือการรายงานสถานการณ์โควิด 19 พบว่า ประชาชนกลุ่มตัวอย่างเลือกรับชมและเชื่อถือการรายงานสถานการณ์
ี
่
ี
ำ
่
จากช่อง 3 (ไทยพีบีเอส) เป็นลาดับท 1 ลาดับท 2 ช่อง 33 (3 HD) ลำาดับท 3 ช่อง 32 (ไทยรัฐทีวี) ลำาดับท 4
ำ
่
ี
่
ี
158
ไทยพีบีเอส 2563