Page 158 - AnnualReport2563
P. 158
ื
ั
ี
ั
้
้
ี
่
่
ั
การศึกษาขนพนฐาน (สพฐ.) ไปยงโรงเรยนในเครือ สพฐ. 29,000 โรงเรยนทวประเทศ และการตอยอดในโครงการ
“ไทยพีบีเอสรวมพลังครู ตอน Code ได้ Code ดี” เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้เรื่อง Coding ดังนั้น ในภาพรวมจากการ
ำ
ุ
ประเมินก่อให้เกิดความค้มค่าจากการคานวณค่า Economic Benefit-Cost Ratio เท่ากับ 3.60 หมายความว่า ต้นทุนทุกๆ
ุ
้
ึ
1 บาทของการดาเนินโครงการ ก่อให้เกิดผลตอบแทนท่คิดเป็นตัวเลขได 3.60 บาท ซ่งแสดงถึงความค้มค่าของการลงทุน
ำ
ี
นอกจากนั้น เมื่อพิจารณาผลผลิตเด่นที่เกิดจากการดำาเนินงานในปี พ.ศ. 2563 ที่มีหน่วยงานภายในของ ส.ส.ท.
ร่วมดำาเนินการมากที่สุด คือ การรายงานสถานการณ์โควิด 19 ผ่านช่องทางที่ครอบคลุมและก่อให้เกิดคุณค่าต่อสังคม
ำ
์
ั
ในวงกว้างท้งทางตรงและทางอ้อม ท้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ กล่าวคือ ในระดับผลผลิตการดาเนินงานก่อให้เกิด
ั
ี
ื
ี
ื
ึ
ื
การปรับผังรายการเพ่อเปิดพ้นท่ให้การรายงานสถานการณ์โควิด 19 อย่างต่อเน่อง มีการข้นรายการใหม่ท่เก่ยวข้อง
ี
8 รายการ และละคร 1 เรื่อง มีการสร้างช่อง ALTV (Active Learning TV) ช่องหมายเลข 4 และเว็บไซต์เฉพาะกิจ
Covid-19
ในขณะท่มิติผลลัพธ์ตามแนวคิดห่วงโซ่ผลกระทบ (Impact Value Chain) ก่อให้เกิดการกระจายข้อมูลและ
ี
ู
ความร้ท่เก่ยวกับโควิด 19 ไปครอบคลุมประชาชนทุกกล่มได้ในวงกว้าง ทั้งการส่อสารภาษามือ (Big Sign) และการ
ื
ี
ี
ุ
จัดทาคาบรรยายแทนเสียงแบบปิด หรือ Closed Caption (CC) สาหรับผ้พิการ และส่อสารทุกช่องทาง การสร้าง
ำ
ื
ำ
ู
ำ
ำ
ั
ื
ความตระหนักจากข้อมูลท่ถูกต้อง เพ่อนาไปส่การเตรียมความพร้อมของระบบสาธารณสุข พร้อมท้งการขยายเครือข่าย
ู
ี
ึ
ี
ท่ครอบคลุมทุกมิติของผลกระทบท่เกิดข้นจากการระบาดของโควิด 19 โดยมี ส.ส.ท. เป็นตัวกลางในการผสาน
ี
ความร่วมมือ รวมถึงในมิติมหภาคที่ส่งผลต่อการกำาหนดนโยบายภาครัฐ เช่น เรื่องระบบการกักตัว และการขยายโอกาส
ทางการศึกษา ซึ่งผลผลิตและผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นสามารถแสดงให้เห็นในเชิงประจักษ์ได้ แต่ยังมีข้อจำากัดด้านการประเมิน
ผลผลิตและผลลัพธ์ต่อกรณีการนำาเสนอเนื้อหาโควิด 19 ในเชิงมูลค่าเป็นตัวเลข
การประเมินด้านการพัฒนาองค์การ
ี
ื
้
์
่
ี
ิ
่
ี
ั
ู
ประเมนภายใตบรบทภมิทศนส่อทมีการเปลยนแปลง มกระบวนการพฒนาองค์การในฐานะสอสาธารณะตามกรอบ
ื
ิ
่
ั
ิ
ู
การประเมิน 5 มิต ประกอบด้วย ด้านเป้าหมาย นโยบาย และผ้บริหารองค์กร ด้านระบบสารสนเทศและสภาพแวดล้อม
ในการทำางาน ด้านกระบวนการทำางานและวัฒนธรรมองค์กร ด้านทรัพยากรมนุษย์ และด้านการสื่อสารภายในองค์กร
พบว่าภาพรวมของการพัฒนาองค์การอย่ในระดับปานกลาง ซึ่งเป็นผลมาจากมิติท่พิจารณาส่วนใหญ่ได้คะแนน
ี
ู
การประเมินผลในระดับปานกลางท้งส้น ยกเว้นมิติด้านเป้าหมาย นโยบาย และผ้บริหารองค์กรเท่าน้นท่ได้รับคะแนน
ั
ี
ู
ั
ิ
้
็
ุ
ในระดับมาก โดยเฉพาะด้านเปาหมายและยทธศาสตรของกรรมการบรหารมความสอดคลองกบบรบทการเปน
ั
์
ิ
้
ี
ิ
สื่อสาธารณะและบริบทภูมิทัศน์สื่อที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างชัดเจน
ในขณะท่ด้านทรัพยากรมนุษย์เป็นมิติท่ได้รับคะแนนการประเมินในระดับปานกลางท่มีค่าคะแนนได้น้อยท่สุด
ี
ี
ี
ี
ื
โดยเฉพาะประเดนทไดคะแนนนอย ไดแก ดานโครงสรางบคลากรมความยดหยนเพอรองรบการบรหารจดการทตอง
ิ
่
ุ
่
ั
ั
ื
่
ี
้
้
่
้
ี
่
็
้
้
้
ุ
ี
ปรับเพื่อความคล่องตัว ด้านการวางแผนความก้าวหน้าทางวิชาชีพให้กับบุคลากรอย่างเป็นระบบ และ ส.ส.ท.มีการให้
ุ
ี
ู
ึ
ี
รางวัล/ยกย่องชมเชยบุคลากรท่ท่มเทให้แก่องค์กรอย่างเหมาะสม ซ่งแต่ละประเด็นท่ผลการประเมินอย่ในระดับน้อย
ำ
เป็นประเด็นท ส.ส.ท. ต้องพิจารณาปรับปรุงเป็นลาดับแรก เพ่อสร้างความชัดเจนในแผนการบริหารจัดการทรัพยากร
ี
่
ื
ี
้
ำ
ั
ั
ู
ำ
บุคคลท่สามารถเข้าใจได และนาไปส่การปฏิบัติได้จริง พร้อมท้งสร้างความเช่อม่นให้แก่บุคลากรว่าการดาเนินงาน
ื
จะนำาไปสู่ความสำาเร็จในวิชาชีพได้ และสามารถเติบโตในสายงานได้อย่างเป็นธรรมและมั่นคง
ื
ี
ั
นอกจากน้น ด้านการส่อสารภายในองค์กรยังคงปรากฏประเด็นย่อยท่มีผลการประเมินในระดับน้อยเช่นกัน
ู
คือ ด้านการจัดกิจกรรมให้ผ้บริหารระดับสูงพบบุคลากรอย่างเพียงพอ ซ่งสะท้อนได้อย่างชัดเจนว่าบุคลากรในระดับ
ึ
ปฏิบัติงานมีความต้องการได้รับการส่อสารโดยตรงจากผ้บริหารระดับสูง เพ่อสร้างความเข้าใจในวาระและประเด็นต่างๆ
ู
ื
ื
ั
ี
ื
ำ
ำ
มากกว่าการส่อสารเป็นลาดับข้นท่เป็นอย่ในปัจจุบัน และในประเด็นด้านกระบวนการทางานและวัฒนธรรม พบประเด็น
ู
157
ไทยพีบีเอส 2563