Page 16 - 8YearsWithGratitude
P. 16

15              ขอบคุณ 8 ปีที่ร่วมกันสร้าง  สื่อสาธารณะที่ยึดโยงกับประชาชน






             การบริหารภาพลักษณ์และการสร้าง Public Perception




                ป2564 ทีมบริหารเริ่มจัดทำโครงการศึกษาแนวทางการบริหารจัดการแบรนด และการใชอัตลักษณขององคการ
           อยางเปนระบบ เพราะการเพิ่มขึ้นของผลิตภัณฑและบริการตางๆของไทยพีบีเอส ที่จำเปนตองมีระบบการจัดการเพื่อ

           ใหแบรนดยอยสามารถสื่อสารภาพลักษณของแบรนดไทยพีบีเอสรวมกัน  จึงไดนำเสนอแนวทางสถาปตยกรรมภาพ
           ลักษณองคการ (Brand Architecture) และการบริหารจัดการอัตลักษณ(Visual Identity Design Guideline) ตอ

           คณะกรรมการนโยบาย พรอมกับการแตงตั้งคณะทำงานเพื่อเปนกลไกการบริหารจัดการอัตลักษณองคการ จนกระทั่ง
           ไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการนโยบายใหประกาศใช Brand Architecture รวมถึงหลักเกณฑการใชอัตลักษณ

           องคการในปลายป 2566


                การออกแบบสถาปตยกรรมภาพลักษณองคการของไทยพีบีเอสอยูบนหลักคิด Strategic Sub-Brand
           ดวยการกำหนดระดับของแตละ Sub-Brand และผลิตภัณฑตาง ๆ ของไทยพีบีเอสวาใกลหรือหางจากแบรนดหลักแคไหน

                       โดยแบงผลิตภัณฑตาง ๆ ออกเปนระดับดังนี้
                         1) Official Logo หรืออัตลักษณของแบรนดหลัก

                         2) Sub-Brand หรือแบรนดรอง คืองานของกลุมขับเคลื่อนยุทธศาสตรพิเศษที่จะสนับสนุนใหแบรนดหลัก
                             เปนที่จดจำ 7 SUB-BRANDS คือ Thai PBS World, The Active, Thai PBS Podcast, VIPA , ALTV,

                             Thai PBS Kids and Learning และ Arts Ent และในตนป 2568 ไดเพิ่มงานภาคพลเมืองหรือ Locals
                             รวมเปน 8 SUB-BRANDS

                         3) Products & Services หรือ ผลิตภัณฑและบริการ
                         4) IN-HOUSE PROGRAMS

                         5) หนวยงานภายในขององคการ
                โดยแตละสวนมีแนวทางการใชอัตลักษณใหสามารถเชื่อมโยงความสัมพันธตอแบรนดหลักไดอยางชัดเจน

           พรอมกับการจัดทำคูมือหลักเกณฑการนำอัตลักษณขององคการ (Brand Book) ไปใช เพื่อใหแตละสวนงานมีหลัก
           ปฏิบัติการใชอัตลักษณขององคการสำหรับงานทุกประเภทอยางเปนเอกภาพ

                มีการประเมินผล Public Perception ของแบรนดอยางสม่ำเสมอ  เพื่อสำรวจวาการขับเคลื่อนเพื่อสื่อสารภาพ
           ลักษณองคการนั้นบรรลุวัตถุประสงค และยังสอดคลองกับภาพรวมขององคกรอยูหรือไม ซึ่งผลการประเมิน Public

           Perception ที่มีตอคุณคาและคุณลักษณะของแบรนดไทยพีบีเอสพบวา แบรนดของไทยพีบีเอสไดคะแนนการ
           ยอมรับสูงวามีความเปนสื่อที่เชื่อถือได  มีความเปนไทย และพึ่งพาได  และเมื่อสำรวจความเปนเอกลักษณเปน

           ที่หนึ่งในใจ หรือ Top of Mind เปรียบเทียบกับชองโทรทัศนดวยกันไดผลวา งานดานภาคพลเมือง และ
           รายการสารคดีของไทยพีบีเอสอยูเปนอันดับที่ 1 ในใจของผูชม


                อยางไรก็ตามในชวงตนป 2568 ผอ. และทีมบริหารไดริเริ่มการจัดทำแผนงานศึกษาทบทวนการจัดการภาพลักษณ

           ขององคการ หรือ Re-Branding เพื่อหาแนวทางปรับปรุงภาพลักษณขององคการใหสอดคลองกับความเปลี่ยนแปลง
           ในอุตสาหกรรมสื่อ และพฤติกรรมการรับขอมูลขาวสารของคนไทย ซึ่งไดแนวคิดหลักที่เปน Conceptual และแนวทาง

           ดำเนินงานแลว พรอมสงตอเปนขอเสนอใหทีมบริหารใหมไดพิจารณาดำเนินการอยางไรตอไป
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21