Page 104 - Media Disruption The Series
P. 104
104 Media Disruption the Series
่
เหล่านคงเป็นเพียงโมเดลธุรกิจหลักๆ ทีใชกันอยูในขณะนี องค์กร
ี
้
้
่
้
่
�
่
สือไม่จาเป็นต้องจากัดอยู่กับโมเดลธุรกิจใดโมเดลหนึง แต่ควรประยุกต์
�
และประสานใช้ให้เหมาะสมกับองค์กร
ทั้งนี้องค์กรสื่ออาจสร้างสรรค์โมเดลธุรกิจใหม่เองก็ได้ อย่างเช่น
“Earn after reading” อันเป็นการให้ผู้เสพสื่อสามารถสะสม
ื
ื
ู
ิ
่
ั
้
ั
แต้มหรือสะสมเงนเมอด Content นันจบ วตถุประสงค์หลกคอการ
ดึงผู้บริโภคมาใช้เวลาเสพสื่อ แล้วใช้ข้อมูลตรงนี้ไปหารายได้จากการ
ขายโฆษณา
หรือโมเดลธุรกิจอย่าง “Pay what you can” เปิดโอกาสให ้
่
ื
ผูบริโภคเลือกจ่ายค่า Content ตามใจชอบหรือการร่วมกับพันธมิตรอน
้
สร้างโมเดลธุรกิจใหมด้วยกัน “Media Alliances” หรือหารายได ้
่
ร่วมกับ Influencer ฯลฯ
อย่างไรก็ตามปัจจัยแห่งความส�าเร็จคือ การเข้าใจว่าทุกวันนี้สือ
่
้
ิ
ไมไดแข่งขันกันเอง แตก�าลังแข่งกับพฤติกรรมผู้บริโภค แข่งกับวถีการ
่
่
�
่
้
่
ี
่
ดาเนินชวิต (Lifestyle) ของผูบริโภคทีเปลยนแปลงไป ดังนั�นสือยุคใหม ่
ี
ต้องใช้ศาสตร์บริหารความน่าสนใจ ท�า Content ของตนเองให้น่าสนใจ
์
และมีประโยชนกับผู้บริโภค 3
�
ี
้
้
ุ
ส�าหรับการเขาใจผูบรโภคกลมเปาหมายให้ไดมากท่สดนัน
ิ
้
ุ
้
่
ิ
สามารถท�าได้หลายวธี โดยเฉพาะในโลกออนไลน์สามารถเจาะข้อมูล
ผ่านเครื่องมืออย่าง Social Listening, Social Monitoring หรือการ
ท�าวจัย หรือแม้แต่การลงสังเกตการณด้วยตนเองกล้วนมีความส�าคัญ
์
ิ
็
่
เพราะข้อมูลทีได้มาสามารถนามาวิเคราะหต่อไดว่า ท�าไมผูบริโภคถึงม ี
์
�
้
้
3 โอลิเวอร์ กิตติพงษ์ วีระเตชะ หัวหน้าคณะผู้บริหารด้านแบรนด์และการสื่อสาร
บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน กล่าวไว้ในตอนหนึงของการอภิปรายหัวข้อ “Marketing
่
่
Opportunity for Media-Content Creators” เมื่อวันที่ 6 พฤศจิกายน 2563
ี
ที่ห้องคอนเวนชั่นฮิอลล์ ไทยพบีเอส