Page 89 - Media Disruption The Series
P. 89
89
หากระบุเจาะจงลงไปในบทบาทของสื่อกับการพัฒนาประชาธิปไตย
ก็มักเปรียบว่า สื่อควรมีบทบาทของ “หมิาเฝาบั้าน” (Watchdog) คอย
้
ตรวจสอบความผิดปกติของสังคม สะท้อนความไม่ชอบมาพากล อาทิ
การทุจริตคอร์รัปชันของข้าราชการหรือนักการเมืองให้สังคมได้รับทราบ
เสมือนสุนัขเฝ้าบ้านที่คอยเห่าเตือนให้เจ้าของบ้านรับรู้เม่อมีโจรผู้ร้าย
ื
ก�าลังจะบุกรุกเข้าบ้าน
นอกจากนั้นนักวิชาการอย่าง บุญรักษ์ บุญญะเขตมาลา ยังได้
อุปมาอุปไมยว่า บทบาทของสื่อมวลชนไทยไม่ควรท�าแค่เป็น “กระจก”
่
ี
สะท้อนความจริงของเหตุการณ์ท่เกิดขึ้นเท่านั้น แต่ควรเป็น “ตะเกยง”
ส่องสว่าง ชี้แนะแนวทางการแก้ไขปัญหา หรือเสนอทางออกของวิกฤติ
ที่เกิดขึ้นในสังคมด้วย
ี
ี
แล้วในสถานการณ์เช่นทุกวันนี้ท่โลกถูกขับเคล่อนการเปล่ยนแปลง
ื
ในทุกมิติโดยเทคโนโลยีดิจิทัล หรือที่เรามักเรียกกันว่า “Digital
Disruption” กอปรกับยังเจอกับวิกฤตการณ์การแพร่ระบาดของ
โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือ โควิด 19 ที่แพร่ระบาดอย่างรุนแรง
ทั่วโลก หรืออาจเรียกว่าเป็น “COVID Disruption” บทบาทของสื่อ
ยังเป็นเหมือนเดิมหรือไม่ เป็นประเด็นที่ชวนขบคิดอย่างยิ่ง
็
บทบาทของสื่อมวลชนไทยไม่ควรท�าแค่เปน
“กระจก”
่
สะท้อนความจรงของเหตุการณ์ที่เกดขึ้นเท่านั้น แต่ควรเปน
่
็
ี
“ตะเกยง”
่
่
้
ั
สองสวาง ชี้แนะแนวทางการแกไขปญหา
หรือเสนอทางออกของวกฤตที่เกดขึ้นในสังคมด้วย
่
่
่