Page 93 - Media Disruption The Series
P. 93

93

                                                                         ั
                นอกจากผลกระทบด้านรายได้ของอุตสาหกรรมสื่อแล้ว  ปรากฏการณ์ท้ง
            “Digital Disruption” และ “COVID Disruption” ยังส่งผลกระทบให้ผู้คนในสังคม
            เกิดภาวะข้อมูลท่วมท้น “Information Overload” เพราะแต่ละวันมีข้อมูลข่าวสาร
            มี Content ป้อนให้อยู่ตลอดเวลา
                เมอผู้บริโภคสามารถเลอกรับข้อมลข่าวสารได้ตามจริตความสนใจของตนเอง
                  ่
                                          ู
                                  ื
                  ื
            ประกอบกับยังมีอัลกอริทึม  (Algorithm) ในสื่อดิจิทัลช่วยคัดสรร Content
            ป้อนตอบสนองความสนใจเฉพาะของผู้เสพสื่อ  ยิ่งก่อให้เกิดสภาพที่เรียกว่า
            “ผลกระทบห้องเสียงสะท้อน” (Echo Chamber Effect) ซึ่งเป็นสภาวการณที่
                                                                         ์
                                       ื่
                                                            �
            ชุดข้อมูลข่าวสาร ความคิด ความเชอถูก “ตอกย�า” และ “ผลิตซ�าใหม่” ส่งต่อวนลูป
                                                �
            สะท้อนกันไปมา จนไมมพื้นที่ในการรับรู้ข้อมูล หรือความคิดเห็นที่แตกต่างออกไป
                              ่
                               ี
                                   �
            ท�าให้ง่ายต่อการเกิดสภาวะลาเอียงในการเลือกรับข้อมูลมายืนยันความเชื่อเดิม
            (Confirmation Bias)  1
                โดยเฉพาะในภาวะบ้านเมืองเกิดวิกฤติ ทั้งวิกฤติทางการเมืองและวิกฤติโควิด
            ระบาดเช่นท่ผ่านมา ผู้คนมักจะหลงเสพรับ หลงเชื่อ และส่งต่อ “ข่าวปลอม” (Fake
                     ี
            News) ได้โดยง่าย โดยทางยูเนสโก (UNESCO) ได้จาแนกออกมาว่าประกอบด้วย
                                                     �
            “ข้อมูลท่ผิด”  (Misinformation) อันเป็นข้อมูลผิดพลาดสร้างขึ้นโดยไม่ตั้งใจ
                   ี
            จะท�าให้เกิดความเสียหายกับผู้ใด ส�าหรับ “ข้อมูลบิดเบือน” (Disinformation)

            เป็นข้อมูลข่าวสารเท็จเกิดจากการจงใจสร้างขึ้น ส่วน “ข้อมูลที่แฝงเจตนาร้าย”
            (Malinformation) เป็นข้อมูลข่าวสารลวง สร้างขึ้นมาจากพ้นฐานข้อมูลจริง
                                                              ื
                                                                ื
                                                                ่
                                                             ้
                                   ้
                                ู
            บางอย่าง เจตนาของข้อมลทัง 2 ประเภทท้ายล้วนจงใจสร้างขึนเพอโจมตีใส่ร้าย
            ท�าลายเป้าหมายให้เกิดความเสียหาย







                               �
            1   ดร.ชัย วุฒิวิวัฒน์ชัย ผู้อานวยการศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ
               (NECTEC) กล่าวไว้ในตอนหนึ่งของการอภิปรายหัวข้อ “The Future of Media Technology
               & Innovation” เมื่อวันที่ 6 พฤศจิกายน 2563 ที่ห้องคอนเวนชั่นฮิอลล์ ไทยพีบีเอส
   88   89   90   91   92   93   94   95   96   97   98