Page 33 - คู่มือผลิตเสียงบรรยายภาพ
P. 33
สถาบันวิชาการสื่อสาธารณะ (สวส.)
- ควรบรรยายสถานที่เกิดเหตุ เพราะมีความสำาคัญต่อเนื้อเรื่อง
ื
ี
- ควรบรรยายพ้นท่ และทิศทาง เพราะช่วยสร้างความเข้าใจ
เช่น “ห้องกว้างขนาดจุคนได้ประมาณ 100 คน” หรือ “เขาชูธงด้วย
ี
ึ
มือขวาข้นเหนือศีรษะแล้วโบกธงไปด้านซ้าย” การบรรยายเช่นน้จะช่วย
สร้างจินตนาการ และทำาให้ผู้ฟังเกิดความเข้าใจมากยิ่งขึ้น
ี
ี
- ควรบรรยายเวลา เม่อมีการเปล่ยนช่วงเวลา เช่น การเปล่ยนแปลง
ื
ู
ของเวลา กลางวัน ยามเช้า ความมืด สว่าง เช้ามืด เช้าตร่ ยามเย็น
โพลเพล ดกสงด หวคำา ทงน ในสวนของการยอนเวลา หากในภาพ
้
้
้
่
ั
ั
ึ
ั
้
่
ี
้
ไม่ได้บอกว่าเป็นปีใด ก็สามารถใช้คาว่า “ย้อนอดีต” ได้ แต่หากมีข้อมูลป ี
ำ
ขึ้นบนหน้าจอให้เห็นเป็นตัวอักษร เช่น พ.ศ. 2479 ก็สามารถบรรยายว่า
“ย้อนอดีต พ.ศ. 2479” ได้ เป็นต้น
- ควรบรรยายตัวละคร ว่าผ้พูดเป็นใคร โดยเฉพาะในกรณ ี
ู
ี
่
้
ู
่
ิ
่
ทเรมตนเรองหรอมคนพดหลายคน ควรบรรยายดวยวาตัวละครม ี
ี
้
ื
ื
่
ลักษณะอย่างไร เช่น อ้วน ผอม สูง ตัวเล็ก ผมขาว ผมดำา ผิวขาว ผิวดำา
บุคลิกภาพ ฐานะทางสังคม อาชีพ เป็นต้น ท้งน้ ในการเรียกช่อ
ื
ี
ั
ี
ั
่
ื
ั
้
ื
ตวละครตอนตนเรอง ถ้าไมจาเปนจะไม่เรยกชอตวละครจนกวาเสยง
ี
่
ำ
็
่
่
สนทนาของตัวละครจะเอ่ยขึ้น เพราะจะทำาให้เสียอรรถรสในการรับชม
ี
ิ
ู
ำ
เน่องจากการบรรยายภาพ ผ้บรรยายทาหน้าท่แค่บรรยายส่งท่ตาเห็นหรือ
ื
ี
ี
ำ
ู
ื
ปรากฏในภาพ แต่ไม่ใช่การเล่าหรือเฉลยเร่อง ผ้ชมจะเป็นคนท่ทาหน้าท ี ่
ในการพยายามจดจาเสียง รับร้ข้อมูลท่บรรยาย แล้วนามาประมวลต่อไป
ำ
ี
ู
ำ
33