Page 34 - คู่มือผลิตเสียงบรรยายภาพ
P. 34
สื่อ
คู่มือผลิต เสียงบรรยายภาพ เบื้องต้น
- ควรบรรยายอากัปกิริยา หน้าตา และการแสดง แต่การให ้
รายละเอียดไม่ควรตีความ เช่น แทนที่จะบอกว่าตัวละครโกรธ อาจจะ
ั
่
่
ื
่
ื
บรรยายอากัปกิริยาแทน เชน หน้าแดง ตัวส่น เหงอตก ฯลฯ เพอให ้
คนพิการทางการเห็นตัดสินเอง เป็นต้น
- ในการบรรยายขนาด ควรตัดเศษหรือส่วนเกินเล็กๆ น้อยๆ
ออกไป ให้เหลือเพียงตัวเลขกลมๆ เพื่อให้ง่ายต่อการเข้าใจ
- ควรบรรยายสี เพราะสีมีความหมาย และบางคนไม่ได้พิการ
ทางการเห็นตั้งแต่กำาเนิดจึงมีประสบการณ์เกี่ยวกับสี การบอกสีจะช่วย
สร้างจินตนาการได้อย่างดี
ื
ำ
- ควรบรรยายโลโก้ เพลงประจารายการ เช่น เพลงช่ออะไร
ผู้แต่งเป็นใคร เป็นต้น รวมถึงรายชื่อนักแสดง การให้เครดิตต่างๆ เพื่อ
ให้เกียรติท้งตอนเร่มและตอนจบ เป็นหน้าท่สาคัญของเสียงบรรยายภาพ
ี
ิ
ั
ำ
้
้
็
ั
อกทงยงทำาใหคนพการทางการเหนไดทราบขอมลสาคญ เพอตดตาม
ู
ำ
ั
้
ื
ิ
ี
ั
ิ
้
่
ี
ำ
ี
ั
ผลงานของสถานีหรือศิลปินต่อไปด้วย ท้งน้ ด้วยเวลาท่จากัดอาจจะ
่
ื
ั
ื
ำ
ไม่สามารถบรรยายได้ครบ ทางออกคอการนารายชอนกแสดงและ
ื
ิ
ั
รายละเอียดท้งหมดในการผลิตรายการมาเผยแพร่ช่องทางอ่นเพ่มเติม
หรือการอ่านล่วงหน้าก่อนภาพปรากฏ
- การบรรยายตัวอักษรท่ปรากฏบนจอ ควรใช้คาว่า “ปรากฏข้น”
ำ
ี
ึ
“ข้อความตัวอักษร” หรือ “ข้อความแปล” อย่างไรก็ตามยังไม่ได้ม ี
ข้อกำาหนดที่แน่นอนในส่วนนี้ว่าคำาใดคือคำาที่เหมาะสมที่สุด
34