Page 35 - คู่มือผลิตเสียงบรรยายภาพ
P. 35
สถาบันวิชาการสื่อสาธารณะ (สวส.)
- ควรบรรยายเมื่อมีการเปลี่ยนภาพ เช่น เปลี่ยนเวลา เปลี่ยน
ภาพ เปลี่ยนฉาก เปลี่ยนระยะภาพ โดยในกรณีการเปลี่ยนฉาก อาจจะ
ู
ำ
ื
ี
ใช้วิธีการบรรยายช่อสถานท่ก็จะทาให้ผ้ฟังเข้าใจได้ว่าเป็นการ
เปล่ยนฉาก หรือการเปล่ยนระยะภาพ อาจใช้วิธีการบรรยาย
ี
ี
ำ
ี
ึ
ี
ู
รายละเอียดท่ชัดเจนข้นหรือมุมท่กว้างออกไป ก็จะสามารถทาให้ผ้ฟัง
เข้าใจได้ว่าเป็นการซูมเข้าหรือซูมออก โดยไม่ต้องใช้คำาศัพท์ทางเทคนิค
ั
เช่น กลางท้องนามีชายหญิงน่งอย่บนหลังควาย ชายหน่มขยับหน้า
ุ
ู
เข้าใกล้หน้าหญิงสาวจนใบหน้าของหญิงสาวแดงระเรื่อ เพียงเท่านี้ผู้ฟัง
ก็เข้าใจได้ว่าภาพซูมเข้ามาใกล้จนทำาให้เห็นถึงใบหน้าที่แดงแล้ว
- การบรรยายถึงคาศัพท์ยากหรือซับซ้อน หากมีความสอดคล้อง
ำ
กับเรื่อง หรือมีผลกับเรื่องก็จำาเป็นที่จะต้องบรรยาย แต่หากไม่มีผลกับ
ี
ื
ำ
เร่องอาจไม่ต้องบรรยายก็ได้ เช่น หากเน้อเร่องเก่ยวกับนางรา และ
ื
ื
มีการพูดถึงเรื่องการแต่งกายของนางรำาโดยเฉพาะ “อุบะ” ซึ่งหมายถึง
้
้
ี
็
ู
ำ
ู
้
็
พวงดอกไมรอยเปนสายทหอยประดบอยขางหนางรา กควรจะตองมการ
้
่
ั
่
ี
้
บรรยายในส่วนนี้ด้วย
- การบรรยายถึงภูมิหลังทางวัฒนธรรม สีผิว เชื้อชาติ ศาสนา
ของตัวละคร หากสำาคัญกับเรื่องก็ควรบรรยาย แต่หากไม่สำาคัญกับเรื่อง
อาจไม่ต้องบรรยายก็ได้
- การบรรยายเสียงที่คุ้นเคยอยู่แล้ว เช่น เสียงโทรศัพท์ หากฟัง
ไม่ชัดหรือคลุมเครือ ไม่สามารถตีความได้ อาจจำาเป็นต้องบรรยายด้วย
35