Page 40 - คู่มือผลิตเสียงบรรยายภาพ
P. 40
สื่อ
คู่มือผลิต เสียงบรรยายภาพ เบื้องต้น
(3) ก�รใช้ภ�ษ� (Language)
ำ
ี
ำ
คาพูดเพียงไม่ก่คาสามารถบรรยายได้มาก ในการเขียนบท
เสียงบรรยายภาพต้องเลือกใช้คา คาต้องชัดเจน เห็นภาพ สร้างจินตนาการ
ำ
ำ
ู
และเกิดความเข้าใจ และต้องไม่ใช้ความร้สึก ตามกฎเหล็กของการสร้าง
ำ
คาบรรยายภาพท่ Juan Francisco Lopez Vera (2006) กล่าวไว้ว่า
ี
่
ุ
่
่
ี
ู
็
ื
“What you see is what you say” (สงทคณเหนคอสงทคณจะพด
ิ
ี
ิ
ุ
่
ออกไป) ทั้งนี้ ในการบรรยายควรเริ่มจากสิ่งที่เป็นของทั่วไปก่อน แล้วค่อย
ู
ำ
ี
่
่
ั
ี
ลงรายละเอยดเฉพาะเจาะจงตามลาดบจากภาพ สีทอยบนจอ จากบน
ลงล่าง หรือจากซ้ายไปขวา หรือตามเข็มหรือทวนเข็มนาฬิกาก็ได ้
โดยผู้จัดทำาเสียงบรรยายภาพจะต้องพยายามเข้าใจงานของผู้ผลิตรายการ
ด้วย ซึ่งมีหลักในการใช้ภาษาสำาหรับการผลิตเสียงบรรยายภาพ ดังนี้
(3.1) ภาษาที่ควรใช้ ได้แก่
- ควรใช้ภาษากึ่งทางการ เป็นภาษาเพื่อการพูด ไม่เป็นทางการ
ไม่ก้าวข้ามไปใช้ภาษาท่กันเองมากเกินไป (เหมือนเล่าเร่องให้กับคนท ่ ี
ี
ื
รู้จักกันฟัง แต่ไม่ใช้คำาที่เหมือนกับกำาลังคุยกับเพื่อนสนิท)
ั
ี
- ควรใช้ภาษาท่ง่าย กระชับ ส้น ได้ใจความ ไม่ใช้ภาษาท ่ ี
ซับซ้อน และไม่นิยมใช้ภาษาในเชิงวรรณกรรมหรือภาษากวี เช่น
อาทิตย์อัสดง รวมถึงคำาศัพท์สูงก็ไม่ควรใช้ เช่น ดุษณียภาพ (หมายถึง
่
ี
์
ิ
ั
ื
อาการนิงแสดงการยอมรบ) เนองจากการใชคาศพททยากเกนไป
่
่
ำ
ั
้
จะทาให้คนพิการทางการเห็นไม่เข้าใจได้ หรือบางคร้งอาจจะต้อง
ั
ำ
40