Page 42 - คู่มือผลิตเสียงบรรยายภาพ
P. 42

สื่อ
        คู่มือผลิต     เสียงบรรยายภาพ เบื้องต้น





                     - การเรียกตัวละคร ให้บรรยายลักษณะตัวละคร จนกว่า

                                                                   ื
                                               ื
                            ื
              จะเอ่ยหรือเผยช่อ เช่น ชายผมยาว เม่อทุกคนทราบช่อ ให้ผูกช่อกับ
                                                           ื
              ตัวละครกับลักษณะที่บรรยายไว้ เช่น ปกรณ์ ชายผมยาว หลังจากนั้น
              ใช้ชื่อ ปกรณ์ อย่างเดียว
                                      ำ
                     - การใช้ระดับของคาศัพท์ควรใช้ให้เหมาะสมกับช่วงอายุของ
              ผู้ชมรายการ


                     - การถอดเสียงและการแปลภาษาต่างประเทศ ควรเขียน
              คาภาษาต้นฉบับและใส่วงเล็บการอ่านออกเสียงเป็นภาษาไทยกากับ
               ำ
                                                                    ำ
              ไว้ด้วย เช่น อักษรที่ปรากฏหน้าจอ หรือป้ายในภาพยนตร์ ทั้งนี้ เพื่อให้
              การลงเสียงไม่ผิดพลาด โดยผู้ลงเสียงต้องตรวจสอบข้อมูลโดยสอบถาม
               ู
                ู
                                         ี
              ผ้ร้หรือสังเกตจากเสียงต้นฉบับท่ตัวละครพูด เช่น Genre (เป็นภาษา
              ฝรั่งเศส อ่านว่า “ชอง” ไม่ใช่ “เจนเร่”)
                                         ั
                     - การเขียนบท บางคร้งรูปแบบของประโยคใช้วิธีการกล่าว
                                                       ึ
              ในลักษณะของผ้ถูกกระทา (Passive Voice) ซ่งเป็นประโยคในเชิง
                                   ำ
                            ู
                                         ำ
                                ั
                                              ื
                         ำ
              ลบ หากจะทาให้บทส้นลงและทาให้เน้อหาไม่ส่อไปในเชิงลบ สามารถ
                                               ำ
                                           ้
                                           ู
              ปรบประโยคใหเปนลกษณะของผกระทา (Active Voice) โดยการ
                           ้
                ั
                             ็
                                ั
              สลับประธานและกรรมก็ได้ เช่น “ชายใส่เส้อวินมอเตอร์ไซค์ถูกรถพ่ง
                                                  ื
                                                                      ุ
                                                             ์
                                                   ื
                            ี
                                        ุ
                                                                    ึ
              เข้าชน” อาจเปล่ยนเป็น “รถพ่งชนชายใส่เส้อวินมอเตอรไซค์” ซ่งจะ
                               ั
              ช่วยให้รูปประโยคส้นลง การลงเสียงก็จะไม่ทับซ้อนกับเสียงรายการ
              ต้นฉบับ อีกท้งรูปประโยคก็ไม่ส่อไปในเชิงลบท่แสดงถึงลักษณะของ
                          ั
                                                      ี
      42
   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47