Page 43 - คู่มือผลิตเสียงบรรยายภาพ
P. 43
สถาบันวิชาการสื่อสาธารณะ (สวส.)
ำ
ำ
“ใครถูกใครทาอะไร” แต่จะเป็นไปในลักษณะของ “ใครทาอะไร”
ซึ่งอาจทำาให้ฟังได้เข้าใจชัดเจน ไม่ชี้นำาความรู้สึกได้ดีมากกว่า
(3.2) ภาษาที่ควรหลีกเลี่ยง ได้แก่
- ไม่ควรใช้คำาว่า “เห็น” หรือ “ภาพ” ควรใช้คำาว่า “ปรากฏ”
“มี” หรืออาจใช้คำาว่า “หน้าจอ” แทนภาพ เช่น หน้าจอเปลี่ยนเป็นสีดำา
ู
แทนภาพเปลี่ยนเป็นสีดา เพราะอาจเป็นนัยยะในการตอกยำ้าว่าผ้ฟัง
ำ
มองไม่เห็น แต่ผู้บรรยายมองเห็น
ิ
่
็
้
ี
้
ี
่
อยางไรกตาม จากการทผูเขยนไดสอบถามความคดเหนกบ
ั
็
่
่
ี
ิ
ิ
ิ
่
คนพการทางการเห็นบางท่านในสวนของประเด็นน้เพมเติม พบวา คนพการ
ทางการเห็นนั้น ส่งเสริมให้ใช้ภาษาปกติทั่วไปในการสื่อสาร เช่น “เห็น”
ก็คือเห็น ไม่จำาเป็นต้องหลีกเลี่ยงใช้คำาอื่น
ดังนั้น ในกรณีนี้ จึงไม่ถือเป็นข้อบังคับ หรือจะสามารถตัดสิน
ได้ว่าการใช้คำาใดผิดหรือถูก แต่ขอให้เลือกใช้คำาที่มีความเหมาะสมและ
สื่อความหมายได้อย่างชัดเจน น่าจะเป็นสิ่งที่ดีที่สุด
็
่
ำ
้
่
ั
้
- ไมควรใชคาศพทเฉพาะดานภาพโดยตรง เชน เฟดแบลก
์
ภาพตัดเร็ว หากพบศัพท์เทคนิคการสร้างภาพยนตร์ ให้แปลมุมมอง
ของผ้กากับออกมา เป็นการบรรยาย เช่น การบรรยายเทคนิคแบบ
ู
ำ
dissolve แสดงความฝันหรือจินตนาการของตัวละครควรบรรยาย
ั
ว่า ในความฝัน... ในความคิด... หรือบางคร้งการบรรยายลักษณะของ
43