Page 41 - คู่มือผลิตเสียงบรรยายภาพ
P. 41
สถาบันวิชาการสื่อสาธารณะ (สวส.)
ใช้เวลาในการตีความ ทำาให้เสียอรรถรสในการรับชมสื่อ
- ควรเลือกบรรยายเป็นประโยคท่ถูกต้องตามหลักไวยากรณ์
ี
ถ้าเวลาจำากัดมาก สามารถใช้วลี หรือคำาได้
- ควรใช้คำากริยาที่เฉพาะเจาะจง เช่น เดินกร่าง สาวเท้า จ้าอ้าว
ำ
ำ
ำ
ำ
บินร่อน น้าตาริน น้าตาเอ่อ น้าตาไหล น้าตานองหน้า เป็นต้น
ำ
ำ
- ควรใช้ไวยากรณ์แบบปัจจุบันกาล เช่น เดินไป น่งลง ไม่จาเป็น
ั
ต้องบอกว่า กำาลังเดินไป หรือ กำาลังนั่ง เพราะทำาให้ประโยคเยิ่นเย้อ
- ใช้คำาสรรพนาม เช่น ธนิตกำามือแน่น ตัวสั่น เขาชกไปที่ปาก
ี
ู
ำ
ำ
ี
ของสมบัติ เป็นต้น นอกจากน้ กรณีการถ่ายทาท่แสดงว่าผ้ดาเนินรายการ
ำ
ู
้
ำ
กาลงส่อสารกับผ้ชมโดยตรง โดยเลือกใช้ คาว่า “เรา” หากผดาเนิน
ำ
ั
ื
ู
รายการหันมาหาผู้ชม จะบรรยายว่า “พี่โจ มองมาทางเรา” เป็นต้น
- ใช้คำาวิเศษณ์ เพื่อขยายความ เช่น บ้านหลังใหญ่ ควายเคี้ยว
้
ี
ึ
้
ั
้
ำ
ิ
ื
้
็
เออง เปนตน คาวเศษณ์นจะทาใหการบรรยาย ชัดเจนมากข้น อกทง
้
ำ
ี
ยังเป็นลูกเล่นในการสื่ออารมณ์ของเรื่อง เช่น เทอร์มอมิเตอร์พุ่งสูงปรี๊ด
ซ่งแสดงถึงความสนุกสนานในภาษา แต่ควรระมัดระวังไม่ให้เย่นเย้อและ
ึ
ิ
ต้องใช้คำาให้เหมาะสม
ำ
ำ
ื
- การใช้คาเช่อม นอกจากจะทาให้ประโยคบรรยายมีความ
ื
สละสลวยแล้ว ยังสามารถแสดงเวลาความขัดแย้ง หรือ เช่อมสอง
อากัปกิริยา เช่น ขณะที่... , พอ...ก็ เป็นต้น
41